ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

29 ตุลาคม 2563

ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม

 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม


กลุ่มตัวอย่าง(Sample groups)

        หมายถึงบางส่วนของประชากรที่ถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากรที่ทำการศึกษา การใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กจะทำให้มีโอกาส
เกิดความคลาดเคลื่อนมาก และการใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างใหญ่จะมีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนน้อย เนื่องจากขนาดกลุ่มตัวอย่างใหญ่
ให้ข้อมูลที่เที่ยงตรง การคำนวณทางสถิติมีความถูกต้องมากกว่ากลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่างยิ่งมีขนาดใหญ่มากเท่าใด ความ
คลาดเคลื่อนจากการสุ่มจะลดน้อยลงแต่เมื่อถึงจุดหนึ่งแม้จะเพิ่มขนาดของกลุ่มตัวอย่างให้ใหญ่ขึ้นอีกแต่ความคลาดเคลื่อนก็ลดลงได้ไม่มากนัก


ภาพความสัมพันธ์ระหว่างความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่างกับขนาดของกลุ่มตัวอย่าง


การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

ผู้วิจัยควรคำนึงถึงสิ่งต่างๆ หลายอย่างมาประกอบกัน ดังนี้

1) ค่าใช้จ่าย เวลาแรงงานและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างนั้น พอหรือไม่ คุ้าค่าเพียงใด
2) ขนาดของประชากร ถ้าประชากรมีขนาดใหญ่ จำเป็นต้องเลือกกลุ่มตัวอย่าง ถ้าประชากรมีขนาดเล็ก ควรศึกษาจากประชากรทั้งหมด
3) ความเหมือนกัน ถ้าประชากรมีความเหมือนกันมาก ใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กได้ แต่ถ้าประชากรมีความแตกต่างของสมาชิกมาก

 ความแปรปรวนจะมีมากต้องใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ขึ้น
4) ความแม่นยำชัดเจน ยิ่งขนาดกลุ่มตัวอย่างใหญ่มากเพียงใด ผลของการศึกษายิ่งแม่นยำมากเท่านั้น
5) ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง มักจะยอมให้เกิดได้ 1% หรือ 5% (สัดส่วน 0.01 หรือ 0.05) และขึ้นอยู่กับความสำคัญของเรื่อง

ที่ศึกษาด้วย ถ้าสำคัญมากให้มีความคลาดเคลื่อนให้น้อยที่สุด
6) ความเชื่อมั่น ต้องกำหนดความเชื่อมั่นว่ากลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมามีโอกาสได้ค่าอ้างอิงไม่แตกต่างจากค่าแท้จริงของประชากรประมาณ

เท่าไร


วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

        วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีด้วยกันหลากหลายวิธี ในที่นี้จะเสนอการกำหนด
ขนาดของ กลุ่มตัวอย่างจากการกำหนดเกณฑ์ การใช้สูตรคำนวณและการใช้ตารางสำเร็จรูป 
ซึ่งแต่ละวิธีสามารถอธิบายได้ต่อไปนี้

1. การกำหนดเกณฑ์

ในกรณีนี้ผู้วิจัยต้องทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนก่อนแล้ว ใช้เกณฑ์โดยกำหนดเป็นร้อยละของประชากรในการพิจารณา ดังนี้
ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักร้อย ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 25%
ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักพัน ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 10%
ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักหมื่น ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 5%
ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักแสน ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 1%

2. การใช้ตารางสำเร็จรูป

การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูป มีอยู่หลายประเภท ขึ้นอยู่กับ ความต้องการของผู้วิจัย ตารางสำเร็จรูปที่นิยมใช้

กันในงานวิจัยเชิงสำรวจได้แก่ ตารางสำเร็จของทาโร ยามาเน่ และตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และเมอร์แกน เป็นต้น

- ตารางสำเร็จของทาโร ยามาเน่

ตารางสำเร็จรูปของ ทาโร ยามาเน่ (Yamane) เป็นตารางที่ใช้หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณค่าสัดส่วนของประชากร
โดยคาดว่าสัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5 และระดับความเชื่อมั่น 95% ดังตารางที่ 1 วิธีการอ่านตารางผู้วิจัย

จะต้องทราบขนาดของประชากรและกำหนดระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้

ตารางที่ 1 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % และความคลาดเคลื่อนต่างๆ

















ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน

        

           สำหรับตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) ตารางนี้ใช้ในการประมาณค่าสัดส่วนของประชากรเช่นเดียวกัน
และกำหนดให้สัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5 ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ 5% และระดับความเชื่อมั่น 95%
สามารถคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างกับประชากรที่มีขนาดเล็กได้ตั้งแต่ 10 ขึ้นไป ดังตารางที่ 2 วิธีการอ่านตารางผู้วิจัยต้องทราบ

ขนาดของประชากร



ตารางที่ 2 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน



3. การใช้สูตรคำนวณ




3.1 กรณีทราบขนาดของประชากร



                    3.1.1 สูตรของ ทาโร ยามาเน่

                    


3.1.2 สูตรของเครซี่และมอร์แกน

        


3.2 ไม่ทราบขนาดของประชากร

                   

 3.2.1 สูตรของคอแครน (Cochran)

                             

ใช้ในกรณีที่ไม่ทราบขนาดของประชากรที่แน่นอน แต่ทราบว่ามีจำนวนมากและต้องการประมาณค่าสัดส่วนของประชากร มี 2 กรณีคือ

                    

3.2.2 สูตรของคอแครน (Cochran)

                          

สูตรนี้ใช้กรณีที่ไม่ทราบขนาดของประชากรที่แน่นอน และต้องการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร มีดังนี้





06 ตุลาคม 2563

ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประถมศึกษา

 ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประถมศึกษา




2553ผลของการสอนแบบสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบร่วมมือ ในวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมจรัสศรี พัวจินดาเนตร
2555ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสอนการออกแบบกับระดับทักษะพื้นฐานการออกแบบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนงานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2ภัทรพร สิงห์ชัย
 
ชื่อวิทยานิพนธ์
ชื่อผู้แต่ง
สาขาวิชา/ภาควิชา
ปีการศึกษา
1.การเปรียบเทียบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการสืบเสาะที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
(A comparison of e-learning using problem-based and inquirythat affect student achievement and problem solving skillsin occupations and technology (computers) for prathomusksa 5)
เลขหมู่ LB1028.3 ห37 2556
ระดับ ปริญญาโท
หนึ่ง ภุมมาลา
(Nung Phummala)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
2556
2.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นปีที่ 2
เลขหมู่ LB1028.5 ว62
ระดับ ปริญญาโท
วัชระ เยียระยงค์
(Watchara Yearayong)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
2549
3.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการเลี้ยงสัตว์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนาคประสิทธิ์ จังหวัดนครปฐม
(The development of the computer assisted instruction presenting "the topic of animal breeding" in the content area of vocation and technology for prathomsuksa four students in nakprasith school., Nakhon pathom province)
เลขหมู่ LB1028.5 ป62
ระดับ ปริญญาโท
ปัทมา จารุรัตนวิบูลย์
(Pattama Charurattanawiboon)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
2552

4.การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการผลิตปุ๋ยน้ำชีวภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 2
(The development of video lesson of occupational work learning and technology strand on production of liquid biofertilizer for Prathomsuksa 6 students of Wathnongpuntao School, Suphanburi Primary Educational Service Area Office 2)
เลขหมู่ LB1044.75 จ644
ระดับ ปริญญาโท
จินตนา มาลาพงษ์
(Jintana Malapong)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
2553
5.การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเลี้ยงไก่ไข่ ของนักเรียนชั้นประถมปีที่5
(The Developmemt of a VIDEO TAPE PROGRAM of occupational work learniog and technology strand on raising layers for prathomsuksa 5)
เลขหมู่ LB1044.75 จ74
ระดับ ปริญญาโท
จารุวรรณ มณีโชติ
(Jarruvun Maneechot)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
-

 

การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ทิพวรรณ สังขศิลา  2559


การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะปฏิบัติและเจตคติต่อการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติเรื่องการใช้โปรแกรมตารางคำนวณกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี


พิสิษฐ์ ฉิมมาลี  2559


การพัฒนาหลักสูตรสาระเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีตามแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา


สมัย ขันแข็ง  2558


การพัฒนาโปรแกรมบทเรียนเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


อนุรัฐ หารัญดา  2557


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


อภิสิทธิ์ คิดเห็น  2556


การพัฒนาทักษะปฏิบัติโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์ของเล่นจากเศษวัสดุ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


วรลักษณ์ บุญปก  2556


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการปฏิบัติเรื่องการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี


ทศพร สีเขียว  2556


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


สมหมาย ทิพหะ   2556


การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่องคอมพิวเตอร์กราฟิกกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบการสอนทางตรง


สุรชัย งามชื่น  2556


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการเรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากหลอดกาแฟกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


จรุณี แตงสมบูรณ์  2556


การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการปฏิบัติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการใช้โปรแกรมวาดภาพบนคอมพิวเตอร์นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


พัชณี ผลจิตร์  2556


การพัฒนาทักษะปฏิบัติโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ทองย่อย ภาระหันต์  2556


การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบทักษะปฏิบัติตามหลักสูตรท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการผลิตอิฐมอญชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ทองปาน มิ่งมงคล  2556


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการเลี้ยงสัตว์ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


สุชาติ บุญปก  2556


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานที่ส่งผลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และกระบวนการกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษชั้นประถมศึกษาปีที่ 3


มนูญ ภารประดับ  2556


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการใช้โปรแกรมประมวลผลคำชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


ณัฏฐา ชนะชัย  2556


การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีการใช้โปรแกรมตกแต่งภาพชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ลำดวน มูลอุดม   2556


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องเครื่องดื่มสมุนไพรผักและผลไม้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


จุฬา มันฑะ  2556


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาการสร้างงานเอกสารด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยใช้กิจกรรมแบบโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


กิตติ มีสิทธิ์  2556


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานที่ส่งผลต่อทักษะปฏิบัติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการทำน้ำพริกสมุนไพรชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


ศศิวิมล เสลไสย์  2556


การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองยูงเรื่องลูกประคบสมุนไพรสาเกตนคร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ธนันท์ ดิษเจริญ  2556


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องรอบรู้เรื่องเกษตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ณัฐพนธ์ อุปปะ  2556


การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะปฏิบัติเรื่องคอมพิวเตอร์พื้นฐาน (โปรแกรมตารางการทำงาน) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์กับการเรียนแบบทักษะกระบวนการ


กัลยาณี วงศ์คำจันทร์  2556


ผลการเรียนรู้เรื่องพืชสมุนไพรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กิจกรรมโครงงาน


มนเทียน แสงจันทร์   2556


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD เรื่องสนุกกับงานบัญชี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


วรชิต อุปปะ  2556



การพัฒนาหลักสูตรเสริมกิจกรรมการคิดสร้างสรรค์เรื่อง การประดิษฐ์งานใบตอง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ไพบูลย์ จันทร์สม  2556


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานที่ส่งผลต่อทักษะปฏิบัติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องอาหารพื้นบ้านจังหวัดชัยภูมิชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


เตือนใจ บุตรโต  2555


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์ที่ส่งผลต่อทักษะการปฏิบัติงานเรื่องการประดิษฐ์ของใช้จากกก กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


พรศิริ สวาสดิ์พงษ์  2555


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการเรื่องการประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุในท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2


พนิดา ธวัชไชย   2555


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้จากผ้าใยแก้วชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


อรุณี มีหาญเสมอ  2555


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการปลูกพืชผักสวนครัว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ไตรรัตน์ กุลแพง  2555


การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการทำลอดช่องไทยกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ณัชชารีย์ บวรไชยอนันต์  2555


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


วัฒนา ขันธ์เขต  2555


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์เศรษวัสดุเป็นของใช้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


วันเพ็ญ กุลแพง  2555


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้จากใบยางพาราชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


นงนุช อุตสาห์  2555


การพัฒนาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์เรื่องการประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุเหลือใช้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


วารุณี นาถ้ำพลอย   2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์เรื่องการปลูกไม้ดอกไม้ประดับในภาชนะกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


เพียรพักตร์ สาทอง  2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


สุปราณี เสริมรัมย์  2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3


แสงจันทร์ หนองหารพิทักษ์  2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


เจษฎาวรรณ สมัครการ  2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการประดิษฐ์ของประดับจากเศษผ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


ดาราพร บุตรสุวรรณ์  2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


ปัญญา สุระพร  2555


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานต่อทักษะปฏิบัติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์หมวกจากวัสดุเหลือใช้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


ณัฎยา ศรีสมบูรณ์พงศ์  2555


การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดวิเคราะห์และการยอมรับนับถือตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ TGT เรื่องการสร้างชิ้นงานด้วยซอฟต์แวร์ประยุกต์กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี


กัลย์ลภัส หลาบหนองแสง  2555


การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซิบปากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการขยายพันธุ์พืช


วิลาวัณย์ พิมพ์สักกะ  2555


การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


อำนวย กำเนิดคำ  2555


การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้จากรังไหมกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


จิระประภา สุทธิ์ทวี  2554


ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประถมศึกษา