ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

07 พฤศจิกายน 2560

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี



ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

บทความวิชาการ
  • รศ.ดร.วรัญญา จีระวิพูลวรรณ 
  • รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ 
  • รศ.ดร.ประยงค์ กลั่นฤิทธิ์ 
  • บทความวิจัย
  • จิตติพง กาติวงศ์ 
  • ศรีนวล สืบวงษา 
  • วาสนา ยศแก้ว 
  • ทัศนีย์ เกษราษฎร์ 
  • เสาวนีย์ ยุทธมานพ

  • ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

    บทความวิชาการ
  • ผศ.ดร.อุดม จำรัสพันธุ์ 
  • รศ.ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล 
  • บทความวิจัย
  • ศิริพร ชัยสาร 
  • เผด็จ สุขเกษม 
  • จริญญา ปะจักโก 
  • สรินยา นาคะพงศ์
  • ภาวิณี แก้วแก่น
  • ปาวิตา ไชยมาตย์
  • นงลักษณ์ โพธิ์คำ
  • กิตติพงษ์ บุญญานุพงศ์
  • เฉลียว ไฝทอง
  • บัวลา ตู้จันโต

  • ปีที่ 2 ฉบับที่ 2

    บทความวิชาการ
  • รศ.ดร.วรัญญา จีระวิพูลวรรณ 
  • รศ.ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล 
  • บทความวิจัย
  • พีระพงษ์ พรมสอน 
  • นันทวัฒน์ พินิจพรม 
  • จีระพร เสนาภักดี 
  • อรัญญา ธาตุไชย
  • สุมาลี คำภาบุตร
  • อุลัยวรรณ์ สุวรไตร
  • สุดารัตน์ ศรีไสว
  • ปิยะภรณ์ ศิริชัยพรศักดิ์์
  • ลาวัลย์ นาเมืองรักษ์
  • พิณรัตน์ สาริวงษ์
  • ศุภรัตน์ กุลชาติ
  • เยาวภา พันกกค้อ
  • บัวหลวง ติ่งรุ่งเรือง

  • ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 

    บทความวิชาการ
  • รศ.ดร.ประยงค์ กลั่นฤทธิ์ 
  • ดร.อภิสิทธิ์ ธงไชย 
  • บทความวิจัย
  • จุฬาลัย ช่อกิจ 
  • กษณา ชูดำ 
  • ฉวีวรรณ แสงเลิศ 
  • ประเทือง สุบรรณ์
  • พระอรุณ ลุนสะแกวงษ์
  • ดวงใจ หาญเชิงชัย
  • รัศมี สาระนันท์
  • วิยดา เทศกลั่น
  • ระพีพรรณ เล็กจำปา
  • มาลิณี ทองดอนพุ่ม
  • วันนะเลก เหลื้อง


  • ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 

    บทความวิชาการ
  • ดร.ละดา ดอนหงษา 
  • ผศ.ดร.สนใจ ไชยบุญเรือง 
  • บทความวิจัย
  • บุญส่ง พานชัยภูมิ
  • ศุภลักษณ์ ศุภรัตนกุล 
  • อารมณ์ พาไทสง 
  • ปิยนุช เพ็งลี
  • คำสอน พรมมานิด
  • ไพรินทร์ มาลา
  • งามตา เอี่ยมทศ
  • นันทวัน หมุดปิน
  • คำพอง โสภิณ
  • รุ่งฤดี ปัสสาแก้ว
  • เจษฎาวุธ กุลชาติ
  • ศศิตรา แพงไธสง
  • นิตยา รจนัย_
  • ปนัดดา อุ่นแก้ว
  • วินัย มารมย์



  • ที่มา ::  http://graduate.udru.ac.th/a_journal/download.php


    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปดาวน์โหลดผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text) ได้แล้ว

    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปดาวน์โหลดผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text) ได้แล้ว





             เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2558 สำนักงานวิทยทรัพยากร (หอสมุดกลาง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มจัดตั้งคลังปัญญาจุฬาฯ (CUIR-Chulalongkorn University Intellectual Repository) ซึ่งถือเป็นคลังสถาบันดิจิทัลแห่งแรกของประเทศไทย ที่เป็นฐานข้อมูลจัดเก็บผลงานวิชาการในรูปแบบดิจิทัลฉบับเต็ม ประกอบไปด้วยผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ และผลงานวิชาการอื่น ๆ ได้ประกาศขยายขอบเขตการให้บริการสารสนเทศดิจิทัลฉบับเต็มแก่บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงสารสนเทศในรูปแบบดิจิทัลฉบับเต็มได้ทุกที่และทุกเวลา

             ทั้งนี้ บุคคลทั่วไปที่สนใจดาวน์โหลดผลงานวิชาการฉบับเต็ม สามารถลงทะเบียนเข้าใช้งานผ่าน 

    https://vpnauthen.car.chula.ac.th/registration/ 

    ส่วนคณาจารย์ นักวิจัย นิสิตจุฬาฯ ที่สนใจเผยแพร่ผลงานฉบับเต็ม ติดต่อทีมงานคลังปัญญาจุฬาฯ ได้ที่ 
    http://cuir.car.chula.ac.th/




    ลงทะเบียนง่ายๆ โดยใช้ e-mail ได้ที่
     https://vpnauthen.car.chula.ac.th/registration/ 

      

    31 ตุลาคม 2560

    ขออนุญาติเผยแพร่ผลงานบทคัดย่อ คศ.4 ของท่านอาจารย์โสภานิต เบ็ญจวิไลกุล

    ขออนุญาติเผยแพร่ผลงานบทคัดย่อ คศ.4 ของท่านอาจารย์โสภานิต  เบ็ญจวิไลกุล




    1.
    หัวข้อรายงาน      รายงานผลการใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอ  
                                 เพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งาน
                                 เกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
    ผู้รายงาน              นางโสภานิต  เบ็ญจวิไลกุล
    ปีการศึกษา           2560

    บทคัดย่อ

                    การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ  1) สร้างและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80   2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง เกษตรพอเพียง ของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังการเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนเทศบาลวัดไทรอารีรักษ์ (มณีวิทยา) เทศบาลเมือง         โพธาราม จังหวัดราชบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 36 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง จำนวน 6 เล่ม  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน  40  ข้อ และ 2  แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สูตร  E1/E2   ค่าเฉลี่ย () ร้อยละ (%) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะห์     ความแตกต่างของคะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้การทดสอบค่า t (t-test) แบบ Dependent Group
    ผลการศึกษา พบว่า 
                        1.  ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง ในภาพรวม มีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1)/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 81.58/82.08
                        2.  นักเรียนที่เรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียงมีผลสัมฤทธิ์ทาง     การเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน  
                       3.  นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เกษตรพอเพียง ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก




    2.
    หัวข้องานวิจัย     การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอ
                             เพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
    ผู้วิจัย                     โสภานิต  เบ็ญจวิไลกุล
    ปีการศึกษา           2560

    บทคัดย่อ

    การวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่อง เกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียน        ชั้นประถมศึกษาปีที่  4  เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์ คือ 
    1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   2) เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   3) เพื่อทดลองใช้หลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ  4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา   เรื่องเกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในด้านความรู้ความเข้าใจ เรื่องเกษตรพอเพียง ทักษะกระบวนการทำงาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และความคิดเห็นที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้         ในหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง  ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดไทรอารีรักษ์ (มณีวิทยา) จำนวน 111 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรของผู้บริหารโรงเรียน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้รู้หรือปราชญ์ชาวบ้าน  แบบสอบถามผู้ปกครอง และนักเรียน และประเด็นการสนทนากลุ่ม  2) เครื่องมือในการประเมินผลหลักสูตร ได้แก่ แบบทดสอบหลังเรียน แบบประเมินผลงานภาคปฏิบัติ แบบประเมินทักษะกระบวนการ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ (%) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
    ผลการวิจัย พบว่า
    1.       ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องการให้มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง เพื่อให้นักเรียน        มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกษตรพอเพียงและสามารถนำวิชาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ โดยการเชิญผู้รู้หรือปราชญ์ชาวบ้านมาร่วมสอนกับครู และพานักเรียนไปศึกษานอกสถานศึกษาด้วย  เนื้อหาที่สอนควรประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ในเรื่องงานเกษตร            ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตปกติ เช่น ประโยชน์ของเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกผักสวนครัวไว้กินเอง      การทำปุ๋ยชีวภาพจากวัสดุใกล้ ๆ ตัว การปลูกพืช  ปลอดสารพิษ และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ใช้สื่อการเรียนรู้จากของจริง ใบความรู้ วีซีดี โปสเตอร์ หนังสือ และเอกสารที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ  ใช้วิธีการวัดผลจากการทดสอบ ประเมินผลงาน/ชิ้นงาน สังเกตพฤติกรรมการทำงาน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยนักเรียน เพื่อน ครู และผู้รู้ ร่วมกันประเมินตามสภาพจริง
    2.       ผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า ผลการกำหนดหลักสูตรฉบับร่างประกอบด้วย หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้าง คำอธิบายรายวิชา การจัดเวลาเรียน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ แนวการจัด การเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 แผน ซึ่งประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ 6 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 พอดีและพอเพียง หน่วยที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  หน่วยที่ 3 ผักสวนครัวในภาชนะ หน่วยที่ 4 เกษตรอินทรีย์  หน่วยที่ 5 การทำปุ๋ยจากขยะย่อยสลายได้ และหน่วยที่ 6 มาปลูกผักสวนครัวกันเถอะ และพบว่า หลักสูตรฉบับร่างมีค่าดัชนี  ความสอดคล้องเท่ากับ 1.00
    3.       ผลการทดลองใช้หลักสูตร โดยนำหลักสูตรสถานศึกษา เรื่องเกษตรพอเพียงไปทดลองกับนักเรียน ดำเนินการจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน     8 แผน ซึ่งผู้รู้หรือปราชญ์ชาวบ้าน ครูผู้สอน และผู้วิจัย ร่วมกันดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรม  การเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนในแต่ละหน่วย ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องเกษตรพอเพียง รู้จักการวางแผนการทำงาน ทำงานตามขั้นตอนในเวลาที่กำหนด และรายงานผลหน้าชั้นเรียนได้
    4.       ผลการประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตร พบว่า นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องเกษตรพอเพียงอยู่ในเกณฑ์ดีมาก จำนวน 98 คน  คิดเป็นร้อยละ 88.29  อยู่ในเกณฑ์ดี จำนวน 13 คน         คิดเป็นร้อยละ 11.71 ทักษะกระบวนการทำงาน ด้านการทำงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี  ด้านการมีทักษะกระบวนการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก ด้านความสามารถแสดงความคิดเห็นได้ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก และด้านการมีทักษะกระบวนการกลุ่ม ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก  การประเมินผลงานภาคปฏิบัติ ด้านผลงานตรงกับจุดประสงค์ที่กำหนด ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ด้านผลงานมีความถูกต้องสมบูรณ์ตามหลักวิชาการ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ด้านผลงานแสดงถึงความละเอียด รอบคอบ และเอาใจใส่ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี และด้านผลงานมีความเป็นระเบียบ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก การประเมินผลด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนจากการประเมินร่วมกันระหว่าง นักเรียน ครู และผู้รู้ พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก และนักเรียนส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษาเรื่องเกษตรพอเพียง



    ต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อได้ที่
    อาจารย์โสภานิต เบ็ญจวิไลกุล  Email    <sopanit.05@gmail.com> 


    09 กันยายน 2560

    แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ฉบับที่ 12 พ. .2560-2564


    แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ฉบับที่ 12 พ. .2560-2564  





    https://www.rmu.ac.th/file/strategic_plan_full-p_12_2560-2564_new.pdf





    https://www.rmu.ac.th/file/strategic_plan_full-p_12_2560-2564_new.pdf

    แผนกลยุทธ์กองแผนงานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (พ.ศ. 2560 – 2564)


    แผนกลยุทธ์กองแผนงานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (.. 2560 2564)








    http://www.plan.msu.ac.th/thai/upload/datadownload/attach/2220161215PC5gP0Fplan%2060-64.pdf





    แผนพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)


    แผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 2564) 











    http://plan.msu.ac.th/thai/upload/datanews/attach/1272016101365eByN21.pdf


    แผนกลยุทธ์คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2560 – 2564


    แผนกลยุทธ์คณะศึกษาศาสตร์
    .. 2560 2564 










    แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ.2560- 2563

    แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ.2560- 2563



    http://www.med.msu.ac.th/web/wp-content/uploads/2016/09/PF60-63.pdf





    http://www.med.msu.ac.th/web/wp-content/uploads/2016/09/PF60-63.pdf



    แผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์


    แผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 










    http://plan.rmutr.ac.th/wp-content/uploads/2013/12/rmutr_plan_Actionplan60_2.pdf

    การจัดทำแผนกลยุทธ์ พ.ศ.2560-2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

    การจัดทำแผนกลยุทธ์ พ.ศ.2560-2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์









    08 กันยายน 2560

    การจัดทำแผนกลยุทธ์ พ.ศ.2556-2560 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์


    การจัดทำแผนกลยุทธ์ พ.ศ.2556-2560 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์


    http://plan.rmutr.ac.th/wp-content/uploads/2013/12/rmutr_plan_strategyplan60-64_edit.pdf










    ทิศทางและแนวทางการดําเนินงานของ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์



    ทิศทางและแนวทางการดําเนินงานของ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์














    สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 

    แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙



    แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙









    ที่มา   :: http://ils.swu.ac.th:8991/exlibris/aleph/a22_1/apache_media/INU2JEVL3QQILQGE3NS5R7FLKN8JDK.pdf


    รายงานการวิจัยเพื่อจัดทําข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง


    รายงานการวิจัยเพื่อจัดทําข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง





    http://ils.swu.ac.th:8991/exlibris/aleph/a22_1/apache_media/6N6IL5RVUA6PYUL6PNXDLUIS63XB2N.pdf




    สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 


    โครงการสนับสนุนหลักสูตรการศึกษาร่วมระดับอุดมศึกษา

    โครงการสนับสนุนหลักสูตรการศึกษาร่วมระดับอุดมศึกษา








    ที่มาของโครงการ

    สหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในผู้นำในการดำเนินการหลักสูตรร่วม (Transnational Education) ทั่วโลก โดยมีนักเรียนเข้าร่วมหลักสูตรกว่า 360,000 คน และมีมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรกว่า 80 มหาวิทยาลัยที่มีการเปิดหลักสูตรร่วม จากสถิติดังกล่าวสามารถประมาณการณ์ได้ว่าหลักสูตรการศึกษาร่วมจากสหราชอาณาจักรมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก
    งานวิจัย “The Shape of Things to Come” โดยบริติช เคานซิลในการสัมมนาระดับนานาชาติ Going Global 2013 ได้มีการกล่าวถึงกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพในการเป็นเจ้าภาพในการดำเนินการหลักสูตรร่วม โดยประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มปานกลาง (3) 
    จากข้อมูลดังกล่าว บริติช เคานซิลประเทศไทยตระหนักถึงศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในการพัฒนาไปสู่กลุ่มประเทศลำดับที่ 1 และ 2 และการเปิดหลักสูตรร่วมระหว่างสหราชอาณาจักรและประเทศไทยเป็นการเพิ่มคุณค่าทางการศึกษาและเป็นประตูสู่การแลกเปลี่ยนความรู้และเทคโนโลยีจากผู้เชี่ยวชาญจากทั้งสองประเทศอย่างแท้จริง 
    บริติช เคานซิล จึงได้จัดโครงการส่งเสริมความเป็นนานาชาติในสถาบันอุดมศึกษาไทยผ่านหลักสูตรการศึกษาร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาในสหราชอาณาจักร เพื่อพัฒนาหลักสูตรร่วมระหว่างสหราชอาณาจักรและประเทศไทย รวมถึงสนับสนุนการสร้างความเข้าใจเรื่องหลักสูตรร่วมต่อสถาบันการศึกษาอื่นๆรวมถึงสาธารณชน นำไปสู่การพัฒนาด้านการศึกษาและสถานภาพทางเศรษฐกิจระหว่างสองประเทศต่อไป โดยได้รับความร่วมมือจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา แห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัยทั้ง 9 แห่ง ได้แก่
    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
    • มหาวิทยาลัยมหิดล
    • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
    • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • มหาวิทยาลัยขอนแก่น
     ที่มา. ::  
    https://www.britishcouncil.or.th/programmes/education/our-work-support-higher-education-and-research-sector/uk-thailand-transnational-education-development-project

      แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา



      แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา





      ที่มา  ::    http://www.stou.ac.th/Offices/Opr/planning/pl_main_v2.1/roadmap20/Document/07.pdf



      กรอบแนวทางปฏิรูปการศึกษา

      กรอบแนวทางปฏิรูปการศึกษา 








      ที่มา      http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/edu/download/article/article_20141127130525.pdf


      แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

      แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ





      ที่มา. ::    http://stri.kmutnb.ac.th/research/images/news/07-60/IT-178-60/IT-178-60.pdf






      แนวคิดและนโยบายการศึกษาชาติและความสำคัญของเกณฑ์มาตรฐานหลักสตูร พ.ศ.2558

      แนวคิดและนโยบายการศึกษาชาติและความสำคัญของเกณฑ์มาตรฐานหลักสตูร พ.ศ.2558



      https://technology.kku.ac.th/education/wp-content/uploads/2017/02/เกณฑ์มาตรฐานการจัดการศึกษา-2558.pdf




      ที่มา  ::  https://technology.kku.ac.th/education/wp-content/uploads/2017/02/เกณฑ์มาตรฐานการจัดการศึกษา-2558.pdf


      ทิศทางและนโยบายอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศ

      ทิศทางและนโยบายอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศ