การเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้กลวิธี STAR
กลวิธี STAR (STAR strategy steps) เป็นกลวิธีการใช้ตัวอักษรตัวแรกกลวิธีหนึ่งที่ Maccini and Hughes (2000: 10-21) ได้พัฒนาขึ้นและได้กล่าวถึง กลวิธี STAR นี้ว่าเป็นกลวิธีการ สอนอย่างหนึ่งที่ช่วยให้นักเรียนสามารถจาขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาโดยจำตัวอักษรตัวแรกของชื่อ ลำดับขั้นในแต่ละขั้นตอน ซึ่งมี 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาโจทย์ปัญหา ( Search the word problem : S) ขั้นที่ 2 การแปลงโจทย์ ( Translate the problem: T) ขั้นที่ 3 หาคำตอบของโจทย์ ปัญหา (Answer the problem : A) และขั้นที่ 4 ทบทวนคำตอบ ( Review the solution : R) แมค ชินี (Maccini) อธิบายว่าขั้นตอนหลักของกลวิธี STAR จะประกอบด้วยขั้นตอนย่อยเพื่อช่วยให้ นักเรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาคำตอบได้ ครูสามารถใช้ใบงานที่ประกอบด้วยขั้นตอนและ ขั้นตอนย่อยของกลวิธี STAR เพื่อให้นักเรียนสามารถควบคุมตนเองให้แก้ปัญหาได้ทุกขั้นตอน และ ช่วยจำขั้นตอนในการแก้ปัญหา (Maccini; & Gagnon. 2011: online)
การเรียนแบบร่วมมือโดยใช้กลวิธี STAR หมายถึง การนำกลวิธี STAR มาผสมผสาน กับการเรียนแบบร่วมมือกิจกรรม การเรียนแบบร่วมมือโดยใช้กลวิธี STAR ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน คือ
1. ขั้นเตรียม เป็นการเตรียมความพร้อมในการเรียนซึ่งได้แก่ การแบ่งกลุ่ม นักเรียนประมาณ 3-5 คน คละความสามารถ เพศ ชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียน แนะนำบทบาทหน้าที่ของสมาชิกทุกคนในกลุ่ม
2. ขั้นนำเสนอบทเรียน เป็นขั้นที่ครูผู้สอนนำเสนอเนื้อหา มีการอธิบายเนื้อหาและสาธิตตัวอย่างให้นักเรียนทั้งห้องเข้าใจโดยใช้กลวิธี STAR เปิดโอกาสให้ซักถาม แล้วมอบหมายงาน ให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติ
3. ขั้นกิจกรรมกลุ่ม เป็นขั้นที่นักเรียนได้ร่วมกันทำงานกลุ่มและทำหน้าที่ตามที่ ได้รับมอบหมายมีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันใช้กลวิธี STAR ในการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนในการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน คือ ขั้นศึกษาโจทย์ปัญหา ขั้น แปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหาไปสู่รูปภาพหรือสมการทางคณิตศาสตร์ ขั้นหาคำตอบของโจทย์ ปัญหา และขั้นทบทวนคำตอบว่าสอดคล้องกับข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดในโจทย์ปัญหาหรือไม่
1. ขั้นเตรียม เป็นการเตรียมความพร้อมในการเรียนซึ่งได้แก่ การแบ่งกลุ่ม นักเรียนประมาณ 3-5 คน คละความสามารถ เพศ ชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียน แนะนำบทบาทหน้าที่ของสมาชิกทุกคนในกลุ่ม
2. ขั้นนำเสนอบทเรียน เป็นขั้นที่ครูผู้สอนนำเสนอเนื้อหา มีการอธิบายเนื้อหาและสาธิตตัวอย่างให้นักเรียนทั้งห้องเข้าใจโดยใช้กลวิธี STAR เปิดโอกาสให้ซักถาม แล้วมอบหมายงาน ให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติ
3. ขั้นกิจกรรมกลุ่ม เป็นขั้นที่นักเรียนได้ร่วมกันทำงานกลุ่มและทำหน้าที่ตามที่ ได้รับมอบหมายมีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันใช้กลวิธี STAR ในการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนในการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน คือ ขั้นศึกษาโจทย์ปัญหา ขั้น แปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหาไปสู่รูปภาพหรือสมการทางคณิตศาสตร์ ขั้นหาคำตอบของโจทย์ ปัญหา และขั้นทบทวนคำตอบว่าสอดคล้องกับข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดในโจทย์ปัญหาหรือไม่
4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ เป็นการตรวจความถูกต้องของผลงานกลุ่มที่ นักเรียนได้ร่วมกันทำ โดยครูอาจให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบายผลงานในกลุ่มให้เพื่อน ๆ ฟัง จากนั้น จึงทำการทดสอบความรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคลแล้วเฉลี่ยเป็นคะแนนกลุ่มซึ่งจะเป็นคะแนนของ นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มด้วย
5. ขั้นสรุปบทเรียนแล ะประเมินผล การทำงานกลุ่ม เป็นขั้นที่ครูและนักเรียน ร่วมกันสรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงกระบวนการ ทำงานและข้อบกพร่องและแนวทางการแก้ไขในการทำงานร่วมกัน
5. ขั้นสรุปบทเรียนแล ะประเมินผล การทำงานกลุ่ม เป็นขั้นที่ครูและนักเรียน ร่วมกันสรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงกระบวนการ ทำงานและข้อบกพร่องและแนวทางการแก้ไขในการทำงานร่วมกัน
การสอนแก้ปัญหาคณิตสาสตร์โดยใช้กลวิธี STAR (STAR Strategy Steps) เป็นกลวิธีการสอนให้นักเรียนแก้ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้กลวิธีการจำตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) ของการแก้ปัญหา
นาเจล, ชูเมคเกอร์และเดสเชอร์ (Nagel; Schumaker; & Deshler. 1986: online) ได้กล่าว ว่า กลวิธีการจำตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) คือ การ ออกแบบเพื่อช่วยพฤติกรรมของนักเรียนดีขึ้นในสถานการณ์ทดสอบ บทบาทของกลวิธีการจำตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้น (First Letter Mnemonic Strategy) ได้แก่
1. นักเรียนสามารถลงข้อความเอกลักษณ์ของข้อมูลในหนังสือเรียนของเขานั่นคือ ใจความสำคัญ
นาเจล, ชูเมคเกอร์และเดสเชอร์ (Nagel; Schumaker; & Deshler. 1986: online) ได้กล่าว ว่า กลวิธีการจำตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) คือ การ ออกแบบเพื่อช่วยพฤติกรรมของนักเรียนดีขึ้นในสถานการณ์ทดสอบ บทบาทของกลวิธีการจำตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้น (First Letter Mnemonic Strategy) ได้แก่
1. นักเรียนสามารถลงข้อความเอกลักษณ์ของข้อมูลในหนังสือเรียนของเขานั่นคือ ใจความสำคัญ
2. นักเรียนสามารถตั้งหัวข้อที่เหมาะสมหรือแบ่งประเภทสำหรับแต่ละข้อความของ ข้อมูล
3. นักเรียนสามารถเลือกกลไกที่ช่วยในการจดจำสำหรับแต่ละข้อความของเรื่อง
4. นักเรียนสามารถจดจำแต่ละข้อความ กลวิธีนี้เกี่ยวข้องกับทักษะในการจัดองค์ประกอบและอนุญาตให้นักเรียนทำงานด้วยตัวเองเพื่อจดจำข้อมูลที่ต้องการ วิธีการดำเนินการสอน 8 ขั้น มีดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนและบอกจุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นการวัดทักษะของ
นักเรียนโดยพิจารณาการสร้างข้อความเพื่อจดจำและทำให้นึกถึงข้อมูลเหล่านั้น เพื่อจุดประสงค์การ เรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy)
ขั้นที่ 2 อธิบาย โดยให้นักเรียนแบ่งปันการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของ ชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) ให้นักเรียนได้อธิบายสำหรับลักษณะโดยรวมของ สถานการณ์ที่ซึ่งใช้กลวิธีในการนำมาใช้ ยกตัวอย่างสถานการณ์ที่ต้องใช้กลวิธีในการนำมาใช้ ให้อธิบายถึงประโยชน์ที่นักเรียนได้ความรู้มากขึ้นในการใช้กลวิธีนี้ อธิบายขั้นตอนสำหรับการออกแบบ เครื่องมือที่ช่วยในการจดจำ อธิบายขั้นตอนสำหรับการสร้างและการจดจำข้อความ
ขั้นที่ 3 ยกตัวอย่าง ให้นักเรียนสาธิตการสร้างข้อความอย่างไร ออกแบบเครื่องมือที่ ช่วยในการจดจำ และการจดจำข้อมูลจากข้อความ
ขั้นที่ 4 การระบุตัวอักษร เพื่อความแน่ใจนักเรียนสามารถตรวจสอบด้วยตัวเขาเอง ตามขั้นตอนกลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อลำดับขั้น (First Letter Mnemonic Strategy)
ขั้นที่ 5 การตอบสนองและวิธีปฏิบัติการตรวจสอบ สอนนักเรียนถึงการปฏิบัติ 5 ขั้นตอนสำหรับการสร้างเครื่องช่วยจดจำ และ 4 ใน 5 ขั้นตอนสำหรับการสร้าง และการจดจำ ข้อความที่ครอบคลุมเราเรียกว่า การกระตุ้นการตรวจสอบ
ขั้นที่ 6 การตอบสนองและการปฏิบัติตามระดับชั้น-ความเหมาะสม เพื่อให้นักเรียน ของคุณเข้าใจชำนาญในการใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) เพื่อศึกษาสำหรับการทดสอบในชั้นเรียนที่สำคัญ
ขั้นที่ 7 พูดคุยสิ่งที่ประสบความสำเร็จถึงจุดประสงค์และทดสอบหลังเรียน การวัด ทักษะของนักเรียนโดยพิจารณา การสร้างข้อความเพื่อจดจำ การจดจำและการนึกถึงข้อมูลใน ข้อความนั้น การประสบความสำเร็จในจุดประสงค์ของนักเรียนที่ใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อ ลำดับขั้น (First Letter Mnemonic Strategy) เพื่อศึกษาสำหรับแบบทดสอบในวิชาที่ปฏิบัติได้
ขั้นที่ 8 การลงความเห็น
3. นักเรียนสามารถเลือกกลไกที่ช่วยในการจดจำสำหรับแต่ละข้อความของเรื่อง
4. นักเรียนสามารถจดจำแต่ละข้อความ กลวิธีนี้เกี่ยวข้องกับทักษะในการจัดองค์ประกอบและอนุญาตให้นักเรียนทำงานด้วยตัวเองเพื่อจดจำข้อมูลที่ต้องการ วิธีการดำเนินการสอน 8 ขั้น มีดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนและบอกจุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นการวัดทักษะของ
นักเรียนโดยพิจารณาการสร้างข้อความเพื่อจดจำและทำให้นึกถึงข้อมูลเหล่านั้น เพื่อจุดประสงค์การ เรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy)
ขั้นที่ 2 อธิบาย โดยให้นักเรียนแบ่งปันการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของ ชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) ให้นักเรียนได้อธิบายสำหรับลักษณะโดยรวมของ สถานการณ์ที่ซึ่งใช้กลวิธีในการนำมาใช้ ยกตัวอย่างสถานการณ์ที่ต้องใช้กลวิธีในการนำมาใช้ ให้อธิบายถึงประโยชน์ที่นักเรียนได้ความรู้มากขึ้นในการใช้กลวิธีนี้ อธิบายขั้นตอนสำหรับการออกแบบ เครื่องมือที่ช่วยในการจดจำ อธิบายขั้นตอนสำหรับการสร้างและการจดจำข้อความ
ขั้นที่ 3 ยกตัวอย่าง ให้นักเรียนสาธิตการสร้างข้อความอย่างไร ออกแบบเครื่องมือที่ ช่วยในการจดจำ และการจดจำข้อมูลจากข้อความ
ขั้นที่ 4 การระบุตัวอักษร เพื่อความแน่ใจนักเรียนสามารถตรวจสอบด้วยตัวเขาเอง ตามขั้นตอนกลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อลำดับขั้น (First Letter Mnemonic Strategy)
ขั้นที่ 5 การตอบสนองและวิธีปฏิบัติการตรวจสอบ สอนนักเรียนถึงการปฏิบัติ 5 ขั้นตอนสำหรับการสร้างเครื่องช่วยจดจำ และ 4 ใน 5 ขั้นตอนสำหรับการสร้าง และการจดจำ ข้อความที่ครอบคลุมเราเรียกว่า การกระตุ้นการตรวจสอบ
ขั้นที่ 6 การตอบสนองและการปฏิบัติตามระดับชั้น-ความเหมาะสม เพื่อให้นักเรียน ของคุณเข้าใจชำนาญในการใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อลำดับขั้น ( First Letter Mnemonic Strategy) เพื่อศึกษาสำหรับการทดสอบในชั้นเรียนที่สำคัญ
ขั้นที่ 7 พูดคุยสิ่งที่ประสบความสำเร็จถึงจุดประสงค์และทดสอบหลังเรียน การวัด ทักษะของนักเรียนโดยพิจารณา การสร้างข้อความเพื่อจดจำ การจดจำและการนึกถึงข้อมูลใน ข้อความนั้น การประสบความสำเร็จในจุดประสงค์ของนักเรียนที่ใช้กลวิธีการจำตัวอักษรแรกของชื่อ ลำดับขั้น (First Letter Mnemonic Strategy) เพื่อศึกษาสำหรับแบบทดสอบในวิชาที่ปฏิบัติได้
ขั้นที่ 8 การลงความเห็น
แมคชินี และเกตนัน (Maccini; & Gagnon. 2011: online) กล่าวว่า กลวิธี STAR. ประกอบด้วยลักษณะสำคัญดังนี้
1. เป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้นักเรียนจำกลวิธีที่ใช้ ซึ่งสร้างรูปแบบถ้อยคำจากตัวอักษรตัวแรกของลำดับขั้น
2. ขั้นตอนของกลวิธีใช้ถ้อยคำที่คุ้นเคย ง่าย สั้นกะทัดรัด ช่วยให้นักเรียนเข้าใจได้
3. ขั้นตอนของกลวิธีเรียงลำดับอย่างเหมาะสม เช่น นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหาอย่าง ละเอียดถี่ถ้วนก่อนลงมือแก้ปัญหา และนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ได้ เช่น แก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างประสบความสำเร็จ
4. ขั้นตอนของกลวิธีกระตุ้นให้นักเรียนใช้ความสามารถด้านความรู้ เช่น ใช้การ วิเคราะห์ในการแก้ปัญหา
5. ขั้นตอนของกลวิธีใช้กระตุ้นให้นักเรียนสามารถควบคุมตนเองใช้ความสามารถแก้ปัญหาได้ เช่น ตรวจสอบคำตอบแล้วหรือไม่
จากการทำการวิจัยของแมคชินี และชู๊ส ( Maccini and Hughes. 2000: 10-21) ,แมคชินี และราวด์โอ (Maccini and Ruhl. 2000: 465-489) ซึ่งได้ทดลองโดยใช้กลวิธี STAR ในการ แก้ปัญหาพบว่า การจำขั้นตอนแก้ปัญหาโดยใช้ตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้นช่วยให้นักเรียน ระลึกลำดับขั้นตอนได้จากคำศัพท์ที่รู้จัก คุ้นเคย และช่วยให้สามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน เต็มได้
ขั้นตอนหลักของกลวิธี STAR ประกอบด้วย 4 ขั้นดังนี้
ขั้นที่ 1 S (Search the word problem) การศึกษาโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 2 T (Translate the problem) การแปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 3 A (Answer the problem) การหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 4 R (Review the solution) ทบทวนคำตอบ
แมคชินี และ แกตนัน (Maccini and Gagnon. 2011: online) อธิบายว่าขั้นตอนหลักของ กลวิธี STAR จะประกอบด้วยขั้นตอนย่อยเพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาคำตอบ ได้ รายละเอียดของแต่ละขั้นตอนเป็นดังนี้
ขั้นที่ 1 S (Search the word problem) การศึกษาโจทย์ปัญหา แยกแยะประเด็นของ ปัญหา ดำเนินการดังนี้
2. ขั้นตอนของกลวิธีใช้ถ้อยคำที่คุ้นเคย ง่าย สั้นกะทัดรัด ช่วยให้นักเรียนเข้าใจได้
3. ขั้นตอนของกลวิธีเรียงลำดับอย่างเหมาะสม เช่น นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหาอย่าง ละเอียดถี่ถ้วนก่อนลงมือแก้ปัญหา และนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ได้ เช่น แก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างประสบความสำเร็จ
4. ขั้นตอนของกลวิธีกระตุ้นให้นักเรียนใช้ความสามารถด้านความรู้ เช่น ใช้การ วิเคราะห์ในการแก้ปัญหา
5. ขั้นตอนของกลวิธีใช้กระตุ้นให้นักเรียนสามารถควบคุมตนเองใช้ความสามารถแก้ปัญหาได้ เช่น ตรวจสอบคำตอบแล้วหรือไม่
จากการทำการวิจัยของแมคชินี และชู๊ส ( Maccini and Hughes. 2000: 10-21) ,แมคชินี และราวด์โอ (Maccini and Ruhl. 2000: 465-489) ซึ่งได้ทดลองโดยใช้กลวิธี STAR ในการ แก้ปัญหาพบว่า การจำขั้นตอนแก้ปัญหาโดยใช้ตัวอักษรตัวแรกของชื่อลำดับขั้นช่วยให้นักเรียน ระลึกลำดับขั้นตอนได้จากคำศัพท์ที่รู้จัก คุ้นเคย และช่วยให้สามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน เต็มได้
ขั้นตอนหลักของกลวิธี STAR ประกอบด้วย 4 ขั้นดังนี้
ขั้นที่ 1 S (Search the word problem) การศึกษาโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 2 T (Translate the problem) การแปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 3 A (Answer the problem) การหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
ขั้นที่ 4 R (Review the solution) ทบทวนคำตอบ
แมคชินี และ แกตนัน (Maccini and Gagnon. 2011: online) อธิบายว่าขั้นตอนหลักของ กลวิธี STAR จะประกอบด้วยขั้นตอนย่อยเพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาคำตอบ ได้ รายละเอียดของแต่ละขั้นตอนเป็นดังนี้
ขั้นที่ 1 S (Search the word problem) การศึกษาโจทย์ปัญหา แยกแยะประเด็นของ ปัญหา ดำเนินการดังนี้
1.1 อ่านโจทย์ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน
1.2 ถามคำถามต่อตนเองว่า “รู้เท็จจริงอะไรบ้างจากโจทย์ปัญหา ” “โจทย์ต้องการให้หาอะไร”
1.2 ถามคำถามต่อตนเองว่า “รู้เท็จจริงอะไรบ้างจากโจทย์ปัญหา ” “โจทย์ต้องการให้หาอะไร”
1.3 เขียนข้อเท็จจริงที่ได้จากโจทย์
ขั้นที่ 2 T (Translate the problem) การแปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหาดำเนินการ ดังนี้
2.3 แปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหาไปสู่สมการในแบบรูปภาพหรือสมการทาง คณิตศาสตร์ โดยอาจเลือกใช้สื่อหรือสัญลักษณ์ ดังนี้
ขั้นที่ 2 T (Translate the problem) การแปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหาดำเนินการ ดังนี้
2.1 เลือกตัวแปร
2.2 ระบุการดำเนินการทางคณิตศาสตร์2.3 แปลงข้อมูลที่มีอยู่ในโจทย์ปัญหาไปสู่สมการในแบบรูปภาพหรือสมการทาง คณิตศาสตร์ โดยอาจเลือกใช้สื่อหรือสัญลักษณ์ ดังนี้
2.3.1 สื่อที่เป็นรูปธรรม ( Concrete application: C) ใช้วัตถุจริงหรือสื่อเสมือน
จริง
2.3.2 สื่อที่เป็นตัวแทนวัตถุจริง ( Semiconcrete application: S) วาดรูปภาพ แผนภาพ หรือเขียนตารางแสดงความหมาย
2.3.3 สัญลักษณ์ที่เป็นนามธรรม(Abstract application: A) หานัยทั่วไป นำเสนอให้อยู่ในรูปนิพจน์ของพีชคณิต หรือเขียนสมการเชิงพีชคณิต
ขั้นที่ 3 A (Answer the problem) การหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ดำเนินการหาคำตอบที่ถูกต้องตามขั้นที่ 2
ขั้นที่ 4 R (Review the solution) ทบทวนคำตอบ ดำเนินการดังนี้
4.1 อ่านโจทย์ปัญหาซ้าอีกครั้ง
4.2 ถามคำถามต่อตนเองว่า “คำตอบที่ได้สอดคล้องกับข้อมูลและเงื่อนไขที่
กำหนดในปัญหาหรือไม่”
4.3 ตรวจสอบคำตอบ
ครูสามารถใช้ใบงานที่ประกอบด้วยขั้นตอนและขั้นตอนย่อยของกลวิธี STAR เพื่อให้นักเรียนสามารถควบคุมตนเองให้แก้ปัญหาได้ทุกขั้นตอน และช่วยจำขั้นตอนในการแก้ปัญหา
แมคชินี (Maccini) กล่าวว่า กลวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้นต้องช่วย นักเรียนได้เรียนรู้ข้อมูลทั่วๆ ไป และเรียนรู้ข้อมูลที่ต้องจำกัดเวลา นักเรียนมีความคงทนในการ เรียนและเรียนรู้ได้ดีขึ้นอยู่กับตัวแปรของการสอน เช่น การทบทวน การใช้ครูเป็นตัวแบบ การชี้แนะ แบบฝึกหัด การทำแบบฝึกหัดด้วยตนเอง ให้ผลย้อนกลับและทบทวนเป็นระยะ ๆ ก็จะช่วยให้การใช้ กลวิธีในการสอนประสบความสำเร็จการสอนแก้ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้กลวิธี STAR โดยอาจ เลือกใช้สื่อหรือสัญลักษณ์ ดังนี้ สื่อที่เป็นรูปธรรม ( Concrete) สื่อที่เป็นตัวแทนวัตถุจริง (Semiconcrete) และสัญลักษณ์ที่เป็นนามธรรม ( Abstract) หรือใช้ CSA แทนสื่อหรือสัญลักษณ์ทั้ง สามประเภทดังกล่าว สำหรับสื่อที่เป็นรูปธรรม ( Concrete) เป็นการใช้วัตถุ 3 มิติที่สามารถจับต้อง ได้ในการแสดงความหมายของโจทย์ปัญหา หาคำตอบได้ สื่อที่เป็นตัวแทนวัตถุจริง ( Semiconcrete) เป็นการแสดงความหมายโจทย์ปัญหา โดยการวาดภาพ เขียนแผนภาพ เขียนตาราง และสัญลักษณ์ ที่เป็นนามธรรม (Abstract) เป็นการแสดงความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ทางจำนวน หานัยทั่วไป นำเสนอให้อยู่ในรูปนิพจน์ของพีชคณิต หรือเขียนสมการเชิงพีชคณิต การใช้สื่อหรือสัญลักษณ์ทั้ง สามประเภทดังกล่าวช่วยให้นักเรียนเข้าใจเรียนรู้อย่างมีความหมายมากขึ้น
จริง
2.3.2 สื่อที่เป็นตัวแทนวัตถุจริง ( Semiconcrete application: S) วาดรูปภาพ แผนภาพ หรือเขียนตารางแสดงความหมาย
2.3.3 สัญลักษณ์ที่เป็นนามธรรม(Abstract application: A) หานัยทั่วไป นำเสนอให้อยู่ในรูปนิพจน์ของพีชคณิต หรือเขียนสมการเชิงพีชคณิต
ขั้นที่ 3 A (Answer the problem) การหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ดำเนินการหาคำตอบที่ถูกต้องตามขั้นที่ 2
ขั้นที่ 4 R (Review the solution) ทบทวนคำตอบ ดำเนินการดังนี้
4.1 อ่านโจทย์ปัญหาซ้าอีกครั้ง
4.2 ถามคำถามต่อตนเองว่า “คำตอบที่ได้สอดคล้องกับข้อมูลและเงื่อนไขที่
กำหนดในปัญหาหรือไม่”
4.3 ตรวจสอบคำตอบ
ครูสามารถใช้ใบงานที่ประกอบด้วยขั้นตอนและขั้นตอนย่อยของกลวิธี STAR เพื่อให้นักเรียนสามารถควบคุมตนเองให้แก้ปัญหาได้ทุกขั้นตอน และช่วยจำขั้นตอนในการแก้ปัญหา
แมคชินี (Maccini) กล่าวว่า กลวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้นต้องช่วย นักเรียนได้เรียนรู้ข้อมูลทั่วๆ ไป และเรียนรู้ข้อมูลที่ต้องจำกัดเวลา นักเรียนมีความคงทนในการ เรียนและเรียนรู้ได้ดีขึ้นอยู่กับตัวแปรของการสอน เช่น การทบทวน การใช้ครูเป็นตัวแบบ การชี้แนะ แบบฝึกหัด การทำแบบฝึกหัดด้วยตนเอง ให้ผลย้อนกลับและทบทวนเป็นระยะ ๆ ก็จะช่วยให้การใช้ กลวิธีในการสอนประสบความสำเร็จการสอนแก้ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้กลวิธี STAR โดยอาจ เลือกใช้สื่อหรือสัญลักษณ์ ดังนี้ สื่อที่เป็นรูปธรรม ( Concrete) สื่อที่เป็นตัวแทนวัตถุจริง (Semiconcrete) และสัญลักษณ์ที่เป็นนามธรรม ( Abstract) หรือใช้ CSA แทนสื่อหรือสัญลักษณ์ทั้ง สามประเภทดังกล่าว สำหรับสื่อที่เป็นรูปธรรม ( Concrete) เป็นการใช้วัตถุ 3 มิติที่สามารถจับต้อง ได้ในการแสดงความหมายของโจทย์ปัญหา หาคำตอบได้ สื่อที่เป็นตัวแทนวัตถุจริง ( Semiconcrete) เป็นการแสดงความหมายโจทย์ปัญหา โดยการวาดภาพ เขียนแผนภาพ เขียนตาราง และสัญลักษณ์ ที่เป็นนามธรรม (Abstract) เป็นการแสดงความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ทางจำนวน หานัยทั่วไป นำเสนอให้อยู่ในรูปนิพจน์ของพีชคณิต หรือเขียนสมการเชิงพีชคณิต การใช้สื่อหรือสัญลักษณ์ทั้ง สามประเภทดังกล่าวช่วยให้นักเรียนเข้าใจเรียนรู้อย่างมีความหมายมากขึ้น
ที่มา :: ประจบ แสงสีบับ และ https://prapasara.blogspot.co.uk/2017/05/star.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น