ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

08 มีนาคม 2562

การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ SSCS

การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ SSCS 
























การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ SSCS หมายถึง การเรียนการสอนที่เน้นทักษะ กระบวนการแก้ปัญหาโดยยึดนักเรียนเป็นสําคัญช่วยส่งเสริมความสามารถในกระบวนการคิด แก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน นักเรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ส่งเสริมความมั่นใจในการคิด โดยมีกระบวนการ 4 ขั้นตอนคือ 
 
ขั้นที่ 1 Search : S เป็นขั้นของการแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและแยกแยะ ประเด็นปัญหา


ขั้นที่ 2 Solve : S เป็นขั้นของการวางแผนและการดําเนินการแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม หรือการหาคําตอบของปัญหา   


ขั้นที่ 3 Create : C เป็นขั้นของการนําผลจากขั้น  Solve มาจัดการกระทําเป็นขั้นตอน เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจสามารถนําไปสื่อสารกับผู้อื่นได้   


ขั้นที่ 4 Share : S เป็นขั้นของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลรวมทั้งวิธีการแก้ปัญหา



ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2545ผลของการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบ SSCS ที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2นวลจันทร์ ผมอุดทา, 2521-
2548ผลของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้วยรูปแบบ เอสเอสซีเอส ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นธนาวุฒิ ลาตวงษ์
2559ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบ SSCS ร่วมกับการกระตุ้นโดยใช้คำถามที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายพิฌาวรรณ แช่มชื่น ชมดง

การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ 
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบ LT การเรียนรู้แบบ KWL และการเรียนรู้แบบ SSCS / วิทยานิพนธ์ ของ นันทวัน คำสียา
http://khoon.msu.ac.th/auth/reader/web/index.php?pdf=%2Ffull149%2Fnantawan132964%2Ftitlepage.pdf&refid=rklqua7j9gn6e5ktrtgrgars51




เรียบเรียงโดยประภัสรา โคตะขุน  




05 มีนาคม 2562

การเข้าสืบค้นThesis วิทยานิพนธ์ของ มหาวิทยาลัยต่างๆ


การเข้าสืบค้นThesis วิทยานิพนธ์ของ มหาวิทยาลัยต่างๆ
















มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TU E-Theses)
http://beyond.library.tu.ac.th/cdm/search/collection/thesis


มหาวิทยาลัยศิลปากร
http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CUIR)
http://cuir.car.chula.ac.th/


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
http://kb.psu.ac.th/psukb


มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยบูรพา (e-BUU Thesis)
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/thesis


มหาวิทยาลัยรามคำแหง
http://dcms.lib.ru.ac.th/main.nsp?view=DCMS


มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
http://ird.stou.ac.th/dbresearch/index.php



มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU e-Theses)
http://library.cmu.ac.th/digital_collection/etheses


สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)




TDC (Thai Digital Collection) วิทยานิพนธ์ งานวิจัย และบทความวารสารจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศไทย
http://tdc.thailis.or.th/tdc/


ProQuest Dissertations & Theses วิทยานิพนธ์จากมหาวิทยาลัยกว่า 700 แห่งทั่วโลก 


วิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


























วิทยานิพนธ์ของ "คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" มีครอบคลุมทุกศาสตร์ด้านครุศาสตร์ และการศึกษา เช่น บริหารการศึกษา อุดมศึกษา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา วิจัยการศึกษา การวัดและประเมินผลการศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา หลักสูตรและการสอน การศึกษาวิทยาศาสตร์ การศึกษาคณิตศาสตร์ การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ การสอนภาษาไทย การสอนสังคมศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปศึกษา ดนตรีศึกษา นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร พัฒนศึกษา และจิตวิทยาการศึกษา ใครกำลังเริ่มต้นทำวิทยานิพนธ์ หรือกำลังทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) หรืออาจารย์กำลังขอทำผลงานเพื่อเลื่อนวิทยะฐานะ สนใจ และอยากดาวน์โหลดไฟล์วิทยานิพนธ์ของคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คลิกเลยที่ URL ของสาขานั้นๆ 


สาขาวิชาบริหารการศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 1,391 ชื่อ) 



วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ (จำนวน 7 ชื่อ)



สาขาวิชาอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 463 ชื่อ)



วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ (จำนวน 3 ชื่อ) 



สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 191 ชื่อ) 



สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 141 ชื่อ) 



***สาขาวิชาพลศึกษา (หลักสูตรเก่า ปี 2513 - 2554) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 862 ชื่อ) 



***สาขาวิชาสุขศึกษา (หลักสูตรเก่า ปี 2526 - 2553) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 58 ชื่อ) 



สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 130 ชื่อ) 



สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 132 ชื่อ) 



สาขาวิชาการสอนภาษาไทย วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 59 ชื่อ) 



สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 58 ชื่อ)



สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 166 ชื่อ) 



วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ (จำนวน 7 ชื่อ) 



สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 196 ชื่อ) 



***สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา (หลักสูตรเก่า ปี 2506 - 2554) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 790 ชื่อ) 



สาขาวิชาศิลปศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 266 ชื่อ)



สาขาวิชาดนตรีศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 65 ชื่อ) 



สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 131 ชื่อ) 



สาขาวิชาพัฒนศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 157 ชื่อ) 



สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 314 ชื่อ) 



***สาขาวิชาการศึกษานอกโรงเรียน (หลักสูตรเก่า ปี 2529 - 2539) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 56 ชื่อ)



สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 316 ชื่อ) 



สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 227 ชื่อ) 



***สาขาวิชาวิจัยการศึกษา (หลักสูตรเก่า ปี 2511 - 2555) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 1,096 ชื่อ) 



สาขาวิชาสถิติการศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 46 ชื่อ) 



สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 258 ชื่อ) 



สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (English as an International Language) วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ (จำนวน 68 ชื่อ) 



***สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (หลักสูตรเก่า ปี 2541-2546) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 19 ชื่อ) 



***สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (หลักสูตรเก่า ปี 2532-2540) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย (จำนวน 10 ชื่อ) 



วิทยานิพนธ์รวมทุกสาขาวิชาของคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ทุกสาขาตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ท่านสามารถดาวน์โหลดและพิมพ์ผ่านทางเครื่องพิมพ์ได้ ส่วนวิทยานิพนธ์ตั้งแต่ ปี 2558 ลงมา ไฟล์วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกล็อคการพิมพ์ไว้ ท่านสามารถปลดล็อค (Unlock PDF) การพิมพ์ด้วยตนเองได้ โดยศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ 


"คลังปัญญาจุฬาฯ เพื่อประเทศไทย : CUIR Open to All"

ที่มา  ::  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย