ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ท่านสามารถเปิดดูงานวิจัยฉบับเต็มและคัดลอกส่วนที่ท่านต้องการได้ โดยใช้โปรแกรม Adobe Acrobat Reader การโหลดและการติดตั้งโปรแกรม Adobe Acrobat Reader
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วน ทศนิยม และการคิดวิเคราะห์ระหว่างวิธีเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD สอดแทรกเมตาคอกนิชั่นวิธีเรียนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์วิธีเรียนตามคู่มือครู สสวท. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / วิทยานิพนธ์ ของ ภาวิณี คำชารี
การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการสอนตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ นิตยา ฉิมวงศ์
การพัฒนาการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง เซตตามแนวทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริ แคนสา
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์เรื่องการหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องจำนวนเชิงซ้อนลำดับและอนุกรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ / วิทยานิพนธ์ ของ ปราโมทย์ โพธิไสย
ผลการเรียนจากบทเรียนมัลติมีเดียบนระบบเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เรื่องการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษา ในห้องเรียนของนิสิตปริญญาตรีสาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา / วิทยานิพนธ์ ของ ดรุณนภา นาชัยฤทธิ์
ผลการเรียนเรื่องการใช้โปรแกรมตารางทำงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนบนเครือข่ายที่สร้างตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการเรียนปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ อรอุมา ธรรมวันนา
ผลการจัดการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรมประมวลผลคำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ วิธาน ฉันทิยานนท์
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เรื่องเรียนรู้สื่อสารผ่านเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ปจิมาพร สุริยพงศ์พรรณ
ผลการเรียนรู้และการพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านศิลปหัตถกรรม ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เรื่องเครื่องจักรสานพื้นบ้านอีสาน สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม / วิทยานิพนธ์ ของ บุญชู ศรีเวียงยา
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดคอนสตัคติวิสต์และการจัดประสบการณ์ตามปกติ (Problem solving ability on early childhood towards constructivist theory and conventional experiences provision) ระดับ ปริญญาโท
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชางานบ้านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนการสอนตามแนวคิดคอนสครัคติวิสต์ (A study of household chores learning achievement of fifth grade students taught by constructivist theory approach) ระดับ ปริญญาโท
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความพึงพอใจ ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สร้างขึ้นตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ / วรพจน์ จิราพงษ์.
กระบวนการพัฒนาความคิดรวบยอดทางกายภาพตรรกศาสตร์และสังคมของเด็กปฐมวัย โดยการจัดประสบการณ์ดัานสิ่งแวดล้อมตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ / ปฤษณา สุริยะวงค์.
กระบวนการส่งเสริมการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรม วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ / พรใจ สารยศ.
กระบวนการส่งเสริมพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัยโดยใช้วิธีการเรียนรู้ แบบหัวเรื่องตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ / สุนันทา ศิริวัฒนานนท์.
การศึกษาการจัดสภาพการณ์เสริมความคิดเชิงคุณธรรมสังคมตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย / สมจิตต์ สุวรรณ
การศึกษาความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ / พิศเพลิน ภิรมย์ไกรภักดิ์.
การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและการเห็นคุณค่า ในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ กับการสอนด้วยสัญญาการเรียน / ชื่นทิพย์ อารีสมาน.
ผลการเรียนรู้จากห้องเรียนเสมือนวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ / อุมาวิชนีย์ อาจพรม.
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องลำดับและอนุกรมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ TAI / วิทยานิพนธ์ ของ ธรรมภรณ์ ปักกาเร
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ อัญชลี มาลา
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องจำนวนเชิงซ้อนลำดับและอนุกรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ / วิทยานิพนธ์ ของ ปราโมทย์ โพธิไสย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น