ท่านสามารถเปิดดูงานวิจัยและก๊อปได้ โดยใช้โปรแกรม Adobe Acrobat Reader การโหลดและการติดตั้งโปรแกรม Adobe Acrobat Reader
การเปรียบเทียบแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : พืชหรือสัตว์การจัดจำแนกพืช และการจัดจำแนกสัตว์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนตามรูปแบบของ Wheatley กับการสืบเสาะแบบ สสวท. / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ เกียรติศักดิ์ ศิริแสง
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยาและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ จิราภรณ์ น้อยน้ำใส
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิด (Metacognitive Moves) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยาและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ดนุพล สืบสำราญ
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดในมโนมติชีววิทยาและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีแนวคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ฤชุอร บุญศรไชย
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดในมโนมติชีววิทยาและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีเพศต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ประสาร จันเสนา
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดผิดพลาดเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยาและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ กฤษฎา โสมดำ
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดและการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยาเรื่องพืชหรือสัตว์การจัดจำแนกพืช การจำแนกสัตว์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีเพศต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ เนาวรัตน์ อกศรี
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นที่ใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยาและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ พรทิพย์ ภัทราภิรักษ์
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้เทคนิคการรู้คิด (Matacognitive Moves) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การย่อยอาหาร การหมุนเวียนเลือดและก๊าซและการกำจัดของเสียและการคิดวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ สุมาลี มูลผาลา
การพัฒนากระบวนการผลิตและคุณภาพด้านกายภาพด้านเคมีและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของข้าวนึ่งกล้อง / วิทยานิพนธ์ ของ กรกฤต สารีพวง
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียนเรื่องการลำเลียงสารในสัตว์วิชาชีววิทยาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ รัตนาภรณ์ กำลังดี
การพัฒนาระบบงานภาควิชาชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ พรนิภา วิจารณ์จิต
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้เทคนิคการรู้คิด และแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติ ชีววิทยาเรื่องเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์ และการคิดวิพากษ์วิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีเพศต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริกุล พลบูรณ์
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้พหุปัญญาและการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อการคิดวิพากษ์วิจารณ์และแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ เกศกนก อินแปง
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยการกำหนดและหมุนเวียนหน้าที่ของสมาชิกกับการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท.ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : เซลล์และการเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ กนกภรณ์ นิลสนธิ
ผลการเรียนเรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดยใช้วัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นที่มีต่อทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและความคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / อัชฌา นพไธสง
ผลการเรียนแบบร่วมมือสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่มเรื่องการสังเคราะห์ด้วยแสงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ธนวรรณ มาลานนท์
การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงานเรื่อง การคายน้ำและการตอบสนองของพืช รายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ มนธิรา ชมโคกกรวด
การศึกษาความหลากชนิดและการแพร่กระจายของปลวกเพาะเลี้ยงเชื้อราในวงศ์ย่อย Macrotermitinae และบทบาทในระบบนิเวศป่าชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม / วิทยานิพนธ์ ของ ขทากร ศรีอาจ
ความหลากชนิดของพรรณพืชและพฤกศาสตร์พื้นบ้านของป่าโคกไร่ อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม / วิทยานิพนธ์ ของ เทียมหทัย ชูพันธ์
ความหลากชนิดของสาหร่ายน้ำจืดในแหล่งน้ำของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ วุฒิศักดิ์ บุญแน่น
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องระบบนิเวศ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์และการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ สันต์ เพียรอดวงษ์
การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้แผนผังมโนมติ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์วิชา ว41103 เรื่องระบบนิเวศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ มานะชัย มะลิเลิศ
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องระบบนิเวศชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ แหวนเพชร วรรณสุทธิ์
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหายใจ การสังเคราะห์ด้วยแสง และการหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ กนกอร คำผุย
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : พืชหรือสัตว์ การจำแนกพืช และการจำแนกสัตว์ และการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ สายใจ ทิพพิชัย
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน และวัฏจักรของสารและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ รัชฎานรินทร์ พุดหล้า
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดและแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหายใจ การหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสง การสังเคราะห์ด้วยแสง และการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีเพศต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ อนามิกา อุตรนคร
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การย่อยอาหาร การหมุนเวียนของเลือดและก๊าซ และการกำจัดของเสีย และการคิดวิพากษ์วิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดรูปแบบกลุ่มปฏิบัติการต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริพรรณ ศิริบุญนาม
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : เซลล์และการเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์และการคิดวิพากษ์วิจารณ์ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ กรนันท์ สิมลี
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาชีววิทยาเรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนตามแนวคอนตรัคติวิสซึมกับที่ได้รับการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ อรนุช ชุมนุมดวง
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การย่อยอาหาร การหมุนเวียนของเลือดและก๊าซ และการกำจัดของเสียและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลการเรียนต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ วรวิทย์ อะสุรินทร์
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ สุวรรณี ผาผง
การเปลี่ยนแปลงปริมาณเซริซินและไฟโบรอินในเส้นไหมไทยพันธ์นางลายไหมญี่ปุ่นพันธุ์ลูกผสม (คินชู x โชวะ) และไหมอีรี่ ในช่วงเวลาต่าง ๆ เมื่อเริ่มพ่นใย / วิทยานิพนธ์ ของ สาวิตรี โชติวรรณกุล
การพัฒนาวิธีทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์สีที่ทนทานต่อสาหร่าย สำหรับประเทศไทยในระดับห้องปฏิบัติการ / วิทยานิพนธ์ ของ มยุรี ตั้งธนานุวัฒน์
นิเวศวิทยาการสืบพันธุ์และการเติบโตของเขียดอีโม้ Fejervarya limnocharis (Boie. 1835) / วิทยานิพนธ์ ของ เกื้อกูล พิมพ์ดี
ผลการเรียนแบบร่วมมือสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่มเรื่องการสังเคราะห์ด้วยแสงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ธนวรรณ มาลานนท์
การเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีบางประการของสาหร่ายสไปรูลินาที่เพาะเลี้ยงในอาหารที่เติมธาตุอาหารต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ปนัดดา เพชรล้วน
การเปรียบเทียบแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนติชีววิทยา : พืชหรือสัตว์ การจัดจำแนกพืช การจัดจำแนกสัตว์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนตามรูปแบบการเรียนของ Wheatley และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. / วิทยานิพนธ์ ของ วิชญาภา นาคศรี
การเปรียบเทียบแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การเจริญเติบโตของพืชและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนแบบ Wheatley และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. / วิทยานิพนธ์ ของ อาทิตย์ ยวนหมื่น
การเปรียบเทียบแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหายใจ การหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสง และการสังเคราะห์ด้วยแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนแบบ Wheatley กับการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นิวัฒน์ อาจนิยม
การเปรียบเทียบแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : เซลล์และการเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์และการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนตามรูปแบบการเรียนของ Wheatley และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. / วิทยานิพนธ์ ของ ธนาวดี ตั้งธำรงธนวัฒน์
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหมุนเวียนของเลือดและก๊าซ และการกำจัดของเสียและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 / วิทยานิพนธ์ ของ รุ่งทิพย์ ร่มจำปา
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : ระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน และวัฏจักรของสาร และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ ขวัญใจ สุขรมย์
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นกับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : พืชหรือสัตว์ การจำแนกพืช และการจำแนกสัตว์ และแนวคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ ดลกาญจน์ วงษ์สุวรรณ
การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นและการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : พืชหรือสัตว์ การจัดจำแนกพืชและการจัดจำแนกสัตว์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ ชนิดา ทาทอง
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ประกอบการสอนแบบการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้วิชาชีววิทยาเรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชมีดอก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ สิธรา สุวรรณแสง
การเปรียบเทียบผลของการเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบ Wheatley กับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานและวัฏจักรของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ศศิธร สะตะ
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นและการเรียนสืบเสาะ แบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การหายใจ การหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสง และการสังเคราะห์ด้วยแสง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุระศักดิ์ อุปพระจันทร์
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และการเรียนสืบเสาะ สืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การเจริญเติบโตของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง และความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับมนุษย์และสัตว์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ บุญรัตน์ แสนเจริญสุข
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อการมีแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การย่อยอาหาร การหมุนเวียนของเลือด และแก๊ส และการกำจัดของเสีย และความคิดเชิงเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 / วิทยานิพนธ์ ของ วริศรา ศิริมงคล
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และการสืบเสาะแบบสสวท. ที่มีต่อการมีแนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การเจริญเติบโตของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ กษมา ตราชู
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และแบบปกติที่มีต่อการมีแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : การย่อยอาหารการหมุนเวียนของเลือดและก๊าซ และการกำจัดของเสีย และความคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ สุภาพร คงสมมาตร
การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นและการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : เซลล์ การแบ่งเซลล์และการเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ กมลา บุตรา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์เรื่องการขับถ่ายปัสสาวะของคนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อมราภรณ์ นาสมยนต์
การพัฒนาบทเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนฟ้าแดดสูงยางวิทยาคาร อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สังข์ทอง ศรีชัยเชิด
การพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้เรื่องการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ กัญญารัตน์ พรหมคุณ
การพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบสืบเสาะหาความรู้เรื่องระบบย่อยอาหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ มุกดา บุตรวงค์
การพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องการขยายพันธุ์พืชในท้องถิ่นโดยไม่อาศัยเพศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ รุ่งรพี สัจจสมภาร
การศึกษาสัณฐานวิทยา กายวิภาคศาสตร์และเซลล์พันธุศาสตร์ของต้นขลู่และหนาดเอียด / วิทยานิพนธ์ ของ วัจนา พัฒนวิบูลย์
เซลล์เม็ดเลือดและความเข้มข้นฮีโมโกลบินของแย้จุดหรือแย้เหลือง = Leiolepis belliana rubritaeniata mertens / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริพรรณ พลเสน
ผลการเรียนรู้ด้วยบทเรียนบนเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพันธุกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกมลาไสย / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ เกรียงไกร ไผ่ผาด
ผลการเรียนรู้บทเรียนบนเครือข่าย เรื่องการสืบพันธุ์ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สาวิตรี ทองสัมฤทธิ์
ผลการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิตโดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญาที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานและการคิดเชิงเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ บุบผา นาคสมบูรณ์
สัณฐานวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และการขยายพันธุ์หมาน้อย / วิทยานิพนธ์ ของ รัตติญา รังเสนา
การเปรียบเทียบผลการเรียนชีววิทยาโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ตามทฤษฎีพหุปัญญากับรูปแบบสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นวพรรณ ดีภัย
การเปรียบเทียบผลการเรียนเรื่องชีววิทยาโดยใช้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญากับแบบวัฏจักรการเรียนรู้ที่มีต่อการคิดวิพากษ์วิจารณ์และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / วิทยานิพนธ์ ของ จิรัฐิติกาล พิมพ์วิชัย
การศึกษาชีววิทยาบางประการของพยาธิใบไม้เลือดของโค-กระบือ (Schistosoma spindale) / ปริญญานิพนธ์ ของ พัฒนพงษ์ จันทร์สว่าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น