ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

24 พฤศจิกายน 2554

ตัวอย่างงานวิจัยสาขาวิชาฟิสิกส์

           ตัวอย่างงานวิจัยสาขาวิชาฟิสิกส์




ท่านสามารถเปิดดูงานวิจัยและก๊อปได้ โดยใช้โปรแกรม Adobe Acrobat Reader การโหลดและการติดตั้งโปรแกรม Adobe Acrobat Reader














คลิกอ่านได้ที่ วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม/Fulltext ค่ะ








สาขาวิชาฟิสิกส์






การคำนวณค่าความสว่างจากส่วนต่างๆ ของท้องฟ้าโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม (Development of a model for estimating rainfall from satellite data for Thailand) ระดับ ปริญญาโท






การเคลือบฟิล์มบางอุลูมิเนียมออกไซด์ด้วยวิธีดีซีแมกนีตรอนสปัตเตอริง แบบรีแอกทีฟ ระดับ ปริญญาโท








การปรับปรุงสมรรถนะและการพัฒนาแบบจำลองการอบแห้ง ของเครื่องอบแห้งแบบเรือนกระจกที่ปิดคลุมด้วยแผ่นโพลีคาร์บอเนต (Performance improvement and drying model development of a greenhouse solar dryer with polycarbonate covers) ระดับ ปริญญาโท








การพัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบใช้อากาศร้อนจากแผงรับรังสีดวงอาทิตย์ที่สร้างเป็นหลังคาของโรงเรือน (Development of a solar dryer using hot air from roof-integrated solar collector) ระดับ ปริญญาโท







การพัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับอบแห้งเครื่องเทศและสมุนไพร (Development of a solar dryer for drying herbs and spices) ระดับ ปริญญาโท








การพัฒนาแบบจำลองความเข้มของแสงสว่างจากส่วนต่าง ๆ ของท้องฟ้า โดยใช้ดัชนีเมฆ จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อจำแนกสภาพท้องฟ้า (Development of a sky luminance model using satellite-derived cloud index to classify sky conditions) ระดับ ปริญญาโท







การพัฒนาแบบจำลองสำหรับคำนวณความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ภายใต้สภาพท้องฟ้าปราศจากเมฆ (Development of models for calculating solar radiation under cloudless skies) ระดับ ปริญญาโท







การพัฒนาแบบจำลองสำหรับคำนวณความเข้มรังสีรวมของดวงอาทิตย์รายชั่วโมงเฉลี่ยต่อเดือนจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม (Development of a model for calculating monthly average of hourly global solar radiation from satellite data) ระดับ ปริญญาโท







การพัฒนาแบบจำลองสำหรับคำนวณปริมาณฝนจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมสำหรับประเทศไทย (Development of a model for estimating rainfall from satellite data for Thailand) ระดับ ปริญญาโท







การศึกษาความเข้มรังสีอุลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อผิวหนังของมนุษย์ในบริเวณประเทศไทยโดยอาศัยข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม (A study of solar erythemal ultraviolet radiation in Thailand from satellite data) ระดับ ปริญญาโท







การศึกษาความเร็วและทิศทางลมในประเทศกัมพูชาโดยใช้แบบจำลองบรรยากาศสเกลปานกลาง (An investigation of wind speed and direction in Cambodia by using an atmospheric mesoscale model) ระดับ ปริญญาโท







การศึกษาแบบจำลองและลักษณะทางสถิติของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ในประเทศไทย ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาแบบจำลองและลักษณะทางสถิติของความเข้มแสงสว่างธรรมชาติในประเทศไทย (A study of models and statistical characteristics of daylight in Thailand) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาแบบจำลองสำหรับคำนวณความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ในประเทศไทยโดยใช้ข้อมูลดาวเทียม (A study of a model for calculation solar radiation from satellite data in thailand) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาแบบจำลองสำหรับคำนวณดิฟฟิวซ์อิลูมิแนนบนพื้นเอียง (A study of models for calculating diffuse illuminance on inclined surfaces) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาปริมาณโอโซนในบรรยากาศของประเทศไทย (A study of ozone in the atmosphere over Thailand) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาลักษณะทางสถิติและแบบจำลองของรังสีอุลตราไวโอเลตจากดวงอาทิพย์ที่มีผลต่อผิวหนังของมนุษย์ในประเทศไทย (A study of statistical characteristics and models of solar erythemal ultraviolet radiation in Thailand) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาศักยภาพพลังงานลมเฉพาะแหล่งในประเทศกัมพูชา (A study of micro scale wind potentials in The Kingdom of Cambodia) ระดับ ปริญญาโท









การศึกษาสเปกตรัมของรังสีอัลตราไวโอเลตที่จังหวัดนครปฐม (A study of solar ultraviolet spectrum at Nakhon Pathom) ระดับ ปริญญาโท









การศึกษาสมบัติของฝุ่นละอองในบรรยากาศที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (A study of aerosol properties in the atmosphere at Bangkok and its suburbs) ระดับ ปริญญาโท









การศึกษาสมบัติเชิงแสงของฝุ่นละอองในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาสมรรถนะของเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบกรีนเฮ้าส์ขนาดใหญ่ที่ปิดคลุมด้วยแผ่นโพลีคาร์บอเนต (An investigation of the performance of a large-scale greenhouse solar dryer using polycarbonate cover) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาสมรรถนะของเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ลมที่ใช้กระจกปิดด้านบน (A study of the performance of a solar tunnel dryer with glass covers) ระดับ ปริญญาโท








การศึกษาสมรรถนะของระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบกรีนเฮาส์ขนาดใหญ่ที่มีอุปกรณ์ให้ความร้อนเสริม (An investigation of the performamce of large-scale greenhouse solar drying systems with auxiliary heaters) ระดับ ปริญญาโท








การสร้างชุดข้อมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทนสำหรับประเทศไทย (Generation of typical meteorological data for Thailand) ระดับ ปริญญาโท








การสร้างโฟโตลูมิเนสเซนซ์สเปกโทรมิเตอร์และการศึกษาลักษณะสมบัติทางแสงของบ่อควอนตัมของแกลเลียมอาร์เซไนด์และซิลิกอนพรุน (The construction of Photoluminescence spectrometer and optical characterization of GaAs Quantum well and porous silicon) ระดับ ปริญญาโท








การสร้างและศึกษาลักษณะสมบัติของเป้าสปัตเตอริงที่ทำจากสังกะสีออกไซด์ (Fabrication and characterisation of ZnO sputtering targets) ระดับ ปริญญาโท









พฤติกรรมทางแม่เหล็กของขดลวดทองแดงที่พันสารตัวนำยวดยิ่งในแผนภาพควอเทอร์นารี ทางระบบ Bi-Sr-Ca-Cu-O ระดับ ปริญญาโท








ระยะเจาะลึกยังผลและลักษณะเกรนของสารตัวนำยวดยิ่งในแผนภาพสมดุลของระบบ YBCO เจือด้วย Ag2O (Effective penetration depth and granular superconductors in equilibrium diagrams of YBCO system with Ag2O do pant) ระดับ ปริญญาโท








ศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ระบบความร้อนแบบรวมแสง : กรณีศึกษาสำหรับจังหวัดร้อยเอ็ด (Potentials of concentrating solar power technologies : a case study for Roi Et Province) ระดับ ปริญญาโท








สมบัติทางแม่เหล็กและโครงผลึกของสารต้วนำยวดยิ่งในแผนภาพสมดุลของระบบ YBCO ระดับ ปริญญาโท








สมรรถนะของระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบใช้ตู้อบแห้งแบบถาดและแผงรับรังสีดวงอาทิตย์ที่เป็นพลังคาโรงเรือน (Performance of a solar drying system using tray type drying cabinet and roof-integrated solar collector) ระดับ ปริญญาโท












มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิจัยเกี่ยวกับฟิสิกส์







การพัฒนาแบบทดสอบวัดความถนัดทางฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 2 / วิทยานิพนธ์ ของ ดาราพร หาญกล้า







ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อเจตคติในการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ชาคริต ลำพาย









ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD วิชาฟิสิกส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นิกร โพธิ์กฎ








การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ กุลชาติ ชลเทพ








การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผิดพลาดในมโนมติฟิสิกส์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ สมใจ ธรรมขันธ์








การเปรียบเทียบผลการเรียนมโนมติฟิสิกส์ : งานและพลังงานโดยใช้รูปแบบการเรียน Wheatly และรูปแบบการเรียนสืบเสาะวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อแนวคิดเลือกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ดนัย สาครขันธ์







การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้เทคนิคการรู้คิดและการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : งาน พลังงาน และโมเมนตัม และการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ อรอุมา บวรศักดิ์








การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดและแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ที่มีต่อแนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติ : ฟิสิกส์ งาน พลังงานและโมเมนตัมและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีการคิดวิพากษ์วิจารณ์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ นันทิยาวรรณ บุบผาคร








การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : งาน พลังงานและโมเมตัมและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ นันทนา ใจอ่อน








การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้เทคนิคการรู้คิดและการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : งาน พลังงานและโมเมนตัม และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริกัญญา ดรครชุม









การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้เทคนิคการรู้คิดและการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ งาน พลังงาน และโมเมนตัม และการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แตกต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ สุพจน์ วงค์คำจันทร์










การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขึ้น โดยใช้พหุปัญญากับสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง และการเห็น และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน / จตุพร คำสงค์








การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นโดยใช้พหุปัญญากับสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : การสะท้อนของแสง การหักเหของแสงและการเห็น และการคิดวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลการเรียนวิทยาศาสตร์ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ พรพันธุ์ บุ่งนาแซง










การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น โดยใช้พหุปัญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : งาน และพลังงาน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 / วิทยานิพนธ์ ของ สุรีพร ศิลาไสล








การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์เรื่องแรง มวลและกฎการเคลื่อนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยวัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT) และตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ รพีพรรณ เพียรเสมอ









การเปรียบเทียบแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนติฟิสิกส์ : งานและพลังงานและการคิดอย่างมีเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนตามรูปแบบการเรียนของ Wheatley และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. / วิทยานิพนธ์ ของ กุลวดี ผ่านจังหาร








การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นและการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : งานและพลังงาน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ นัฎฐกานต์ ดวงพร








การเปรียบเทียบผลการเรียนระหว่างการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนกับการสอนแบบ สสวท. รายวิชาฟิสิกส์เรื่องแรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ รังสิยา เกษมจิต








การเปรียบเทียบผลของการเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบ Wheatley กับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนติฟิสิกส์ : การสะท้อนของแสงและการหักเหของแสงและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ สุภาพร ศรีวาปี








การเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และการเรียนสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีต่อแนวความคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติฟิสิกส์ : อัตราเร็วของแสง การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง และการเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ วิชัย มะธิปิไข








การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะการนำตนเองที่เกิดจากการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนเรื่องเครื่องเจาะ วิชาการฝึกปฏิบัติงานในโรงเรียน ของนิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม / วิทยานิพนธ์ ของ ธนนันท์ โรจนกุศล








การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้จากบทเรียนคอมพิวเตอร์เรื่องคลื่นวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีรูปแบบการเรียน (Learning styles) ต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ กรุณา เครือชาลี









การเปรียบเทียบผลการเรียนแรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบวัฏจักรการเรียนรู้ และแบบวัฏจักรการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญาที่มีต่อการคิดวิพากษ์วิจารณ์ การคิดอย่างมีเหตุผล และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ วิมล จันทร์เสถียร








การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิชา 0204191 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 ระหว่างนิสิตหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต และนิสิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม / วิทยานิพนธ์ ของ สุรัตน์ เวชรัตนเชษฐ์









การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์วิชาฟิสิกส์เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อมรศิลป์ มาฆะเซ็นต์








ความสัมพันธ์ระหว่างพหุปัญญาและเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดมหาสารคาม / วิทยานิพนธ์ ของ เพ็ญศรี กานุมาร
















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น