ข้อสอบคณิตศาสตร์ UTQ-204
หน่วยที่ 1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร
รายวิชา UTQ-204 การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา
1. ข้อใด เป็นคุณภาพของผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
|
การทำงานอย่างเป็นระบบ
การมีวิจารณญาณ
การคิดวิเคราะห์
การแก้ปัญหา
|
2. ตาราง กราฟ สมการ นิพจน์ อสมการ เป็นตัวอย่างของคำอภิธานศัพท์ในข้อใด
|
ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model)
แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model)
การดำเนินการ (operation)
แบบรูป (pattern)
|
3. ข้อใด เป็นหัวใจของการใช้หลักสูตรในระดับชั้นเรียน
|
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชา
หน่วยการเรียนรู้
ถูกทุกข้อ
|
4. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยใช้ Backward Design
|
กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
กำหนดหลักฐาน ร่องรอยการเรียนรู้
ออกแบบกระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู้
ออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
|
5. ครูอัญชลีสาธิตประกอบการใช้คำถาม เพื่อสรุปเกี่ยวกับการหาปริมาตรของพีระมิด ครูอัญชลีจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบใด
|
การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
การเรียนรู้จากการใช้คำถามประกอบการอธิบายและแสดงเหตุผล
การเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้า
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
|
6. เมื่อนักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ปัญหา สามารถเขียนปัญหาโดยใช้ภาพ ตาราง หรือกราฟ หรือ เขียนความสัมพันธ์ของตัวแปรในรูปของสมการตามเงื่อนไขที่โจทย์กำหนดได้ เป็นความสามารถในทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ข้อใด
|
การให้เหตุผล
การแก้ปัญหา
การเชื่อมโยง
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
|
7. สาระที่ครูต้องสอดแทรกลงในกระบวนการจัดการเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้คือสาระใด
|
การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
จำนวนและการดำเนินการ
การวัด
|
8. การดำเนินการทดลองหรือกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ เป็นการจัดการเรียนรู้รูปแบบใด
|
การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
การเรียนรู้จากการใช้คำถามประกอบการอธิบายและแสดงเหตุผล
การเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้า
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
|
9. การจัดการเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้าควรใช้วิธีการใดเหมาะสมที่สุด
|
นักเรียนทำการทดลอง
ครูใช้การสาธิตประกอบคำถาม
ครูใช้คำถามประกอบการอธิบาย
นักเรียนทำโครงงานคณิตศาสตร์
|
10. กระบวนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน ขั้นตอนใดสำคัญที่สุด
|
ทำความเข้าใจปัญหาหรือวิเคราะห์ปัญหา
วางแผนแก้ปัญหา
ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบหรือมองย้อนกลับ
|
11. การจัดการเรียนรู้ข้อใดเหมาะสำหรับการพัฒนานักเรียนให้สามารถสร้างความรู้และนำความรู้ไปใช้
|
การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถาม
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา
วิธีสอนแบบโครงงาน
|
12. การสอนจากทฤษฎีหรือกฎไปสูตัวอย่างที่เป็นรายละเอียด ฝึกให้ผู้เรียนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่มีการพิสูจน์ให้เห็นจริง เป็นการจัดการเรียนรู้แบบใด
|
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
วิธีสอนแบบอุปนัย
วิธีสอนแบบนิรนัย
|
13. การเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ TGT คล้ายกับรูปแบบใด
|
TAI
CIRC
STAD
JIGSAW 2
|
14. ข้อใดถูกต้อง
|
15. ข้อใดกล่าวถูกต้องในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ
|
นักเรียนเขียนว่า “ตัวประกอบทั้งหมดของ 24 = 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12,
ครูเขียนว่า “นำเลข 51 บวกกับเลข
ครูกล่าวว่า “จำนวนคู่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ได้ลงตัว”
นักเรียนกล่าวว่า “73 หมายถึง 7 คูณกัน 3 ครั้ง”
|
16. ข้อใดถูกต้อง
|
17. สื่อทางคณิตศาสตร์ข้อใดไม่เข้าพวก
|
เกม
เพลง
บทเรียนการ์ตูน
ของเล่นเชิงคณิตศาสตร์
|
18. โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) จัดเป็นสื่อประเภทใด
|
สื่อวัสดุอุปกรณ์
สื่อเทคโนโลยี
สื่อวีดิทัศน์
สื่อวิธีการ
|
19. สื่อสิ่งพิมพ์ที่ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ ตัวอย่าง แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นสื่อประเภทใด
|
เอกสารฝึกหัด
เอกสารแนะแนวทาง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
บทเรียนโปรแกรมหรือบทเรียนสำเร็จรูป
|
20. ข้อใดมีโครงสร้าง ส่วนประกอบ และจุดประสงค์การเรียนรู้คล้ายกับบทเรียนสำเร็จรูป
|
บทเรียนการ์ตูน
บทเรียนแบบกิจกรรม
เอกสารแนะแนวทาง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
|
21. ข้อใดไม่ถูกต้อง
|
สื่อวัสดุอุปกรณ์ เช่น บัตรคำ
สื่อเทคโนโลยี เช่น เครื่องคำนวณเชิงกราฟ
สื่อวิธีการ เช่น เพลง
สื่อสิ่งแวดล้อม เช่น เครื่องฉาย
|
22. สื่อประเภทใดเหมาะสมกับการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ที่ต้องการให้เห็นกระบวนการและวิธีการอย่างเป็นขั้นตอน
|
สื่อวัสดุอุปกรณ์
สื่อสิ่งแวดล้อม
สื่อวีดิทัศน์
สื่อวิธีการ
|
23. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
|
หากนักเรียนไม่พอใจผลการประเมินคุณภาพของภาระงาน/ชิ้นงาน ระหว่างเรียนสามารถขอแก้ไขปรับปรุงได้
หากคุณครูต้องการตรวจสอบจุดเด่นหรือข้อบกพร่องในขั้นตอนการทำงานของนักเรียน ควรใช้เกณฑ์การประเมินแบบวิเคราะห์ (Analytic Rubrics)
สิ่งที่คุณครูต้องเตรียมการก่อนที่จะวัดผลด้านความรู้ คือ ภาระงานหรือกิจกรรมและเกณฑ์การให้คะแนน
การวัดและประเมินผลรวมของแต่ละหน่วยต้องใช้ข้อสอบเท่านั้น
|
24. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
|
นักเรียนต้องได้รับการประเมินและผ่านการประเมินทุกตัวชี้วัดตามที่สถานศึกษากำหนด
การประเมินผลทุกตัวชี้วัดจำเป็นต้องกำหนดเกณฑ์การประเมินแบบ Rubric
การวัดและประเมินผลรวมของแต่ละหน่วยต้องใช้ข้อสอบเท่านั้น
คุณครูต้องสะท้อนผลการประเมินให้นักเรียนทราบ
|
25. เครื่องมือที่ช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้ดีคือข้อใด
|
แบบสังเกต
แบบทดสอบ
แบบสอบถาม
ภาระงาน
|
26. การประเมินเพื่อวิเคราะห์ความพร้อม พื้นฐานความรู้ ความสนใจของนักเรียนควรอยู่ในขั้นตอนใด
|
ก่อนเรียน
ระหว่างเรียน
หลังเรียน
ขั้นตอนใดก็ได้
|
27. ภาระงานต่อไปนี้ควรมีการประเมินทั้งขั้นตอนวิธีการทำงานและการประเมินผลงานยกเว้นข้อใดที่อาจประเมินเฉพาะคุณภาพของผลงานได้
|
การประดิษฐ์ การจัดทำแบบจำลอง
กราฟ แผนผังความคิด
การสำรวจ การนำเสนอ
โครงงาน โครงการ
|
28. ข้อใดเป็นการประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียนรู้
|
คุณครูอารีประเมินผลเป็นระยะๆ
คุณครูสงบสอบเมื่อสอนจบหน่วยการเรียนรู้
คุณครูเมตตาสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน
คุณครูปราณีประเมินผลเมื่อนักเรียนตอบคำถามครูไม่ได้
|
29. การประเมินผลการเรียนการสอนของครูคนใดเหมาะสมที่สุด
|
ขณะที่นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ ครูประทินสังเกต ซักถาม บันทึกแล้ววิเคราะห์ข้อมูล
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ครูประทีปใช้การทดสอบเพียงอย่างเดียวอย่างต่อเนื่องทุกหน่วย
ครูประเทศให้นักเรียนทำโครงงานโดยประเมินผลจากรายงานโครงงานเป็นรูปเล่มเท่านั้น
ครูประเทืองให้นักเรียนรายงานด้วยวาจาหน้าชั้นเรียนแทนการทดสอบวัดสาระความรู้ทางคณิตศาสตร์
|
30. หลักฐานการเรียนรู้ข้อใดไม่เข้าพวก
|
การสาธิต
การทดลอง
การอภิปราย
การทำแฟ้มสะสมงาน
|
เฉลย...จ้า
ตอบลบ1. ตอบ การแก้ปัญหา
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 122
2. ตอบ ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model)
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 26
3. ตอบ หน่วยการเรียนรู้
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 34
4. ตอบ กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 34
5. ตอบ การเรียนรู้จากการใช้คำถามประกอบการอธิบายและแสดงเหตุผล (ไม่แน่ใจ)
6.ตอบ การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
7. ตอบ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 55
8. ตอบ การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 51
9. ตอบ นักเรียนทำโครงงานคณิตศาสตร์
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 50
10. ตอบ วางแผนแก้ปัญหา
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 53
11. ตอบ วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 61
12. ตอบ วิธีสอนแบบนิรนัย
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 67
13. ตอบ STAD
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 76
14. ตอบ ค. ไม่แน่ใจ
15. ตอบ ข. ไม่แน่ใจ
16. ตอบ ข. ไม่แน่ใจ
17. ตอบ บทเรียนการ์ตูน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 95
18. ตอบ สื่อเทคโนโลยี
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 97
19. ตอบ เอกสารประกอบการเรียนการสอน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 93
20. ตอบ บทเรียนการ์ตูน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 92
21. ตอบ สื่อสิ่งแวดล้อม เช่น เครื่องฉาย
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 91
22. ตอบ สื่อวีดิทัศน์
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 95-96
23. ตอบ สิ่งที่คุณครูต้องเตรียมการก่อนที่จะวัดผลด้านความรู้ คือ ภาระงานหรือกิจกรรมและเกณฑ์การให้คะแนน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 125 ข้อ 2
24. ตอบ การวัดและประเมินผลรวมของแต่ละหน่วยต้องใช้ข้อสอบเท่านั้น
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 123 ข้อ 4
25. ตอบ ภาระงาน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 125 ย่อหน้าที่ 2
26. ตอบ ก่อนเรียน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 113
27. ตอบ กราฟ แผนผังความคิด (ไม่แน่ใจ)
28. ตอบ คุณครูสงบสอบเมื่อสอนจบหน่วยการเรียนรู้
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 114 ข้อ 2.1.4
29. ตอบ ขณะที่นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ ครูประทินสังเกต ซักถาม บันทึกแล้ววิเคราะห์ข้อมูล
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 114 ข้อ 2.1.3
30. ตอบ การทำแฟ้มสะสมงาน
อยู่ใน หลักสูตรคณิตศาสตร์UTQ-204 หน้า 115 ข้อ 3.2
ขอขอบคุณที่มาเยี่ยมชม
ปล.ขอคำติ ชม บล็อกด้วยนะคะ
ขอปรมมือดังๆให้ครับ
ตอบลบอยากให้เพื่อนครู มีน้ำใจ และช่วยกันแชร์ความรู้แบบนี้เยอะครับ
ขอบคุณมากครับ
ขอบคูณมากๆเลยน้าา
ตอบลบด้วยความยินดีค่ะ
ตอบลบคุณเป็นคนดีมากจริง ๆ
ตอบลบขอบคุณมากค่ะ
ตอบลบขอบคุณมาก ๆ อยากได้งานวิจัย 5 บทระดับประถมหรือมัธยมก็ได้ พอจะกรุณาได้บ้างไหมครับ
ตอบลบตัวอย่างงานวิจัย 5 บท คลิกเข้าไปอ่านศึกษาได้เลยค่ะ
ตอบลบhttp://prapasara.blogspot.com/2010/10/blog-post_4496.html
.
UTQ 102 การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
ตอบลบคำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง ?
ก) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
ข)* สถานศึกษากำหนดตัวชี้วัดเอง
ค) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้
ง) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดตัวชี้วัดให้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
2. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ในการบริหารหลักสูตรระดับสถานศึกษา ?
ก)* จัดทำมาตรฐานและตัวชี้วัดของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ข) ส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรและงบประมาณ
ค) กำกับดูแลคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา
ง) จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุงมาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในข้อใด ?
ก) 2542
ข) 2543
ค)* 2544
ง) 2545
4. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ ของการศึกษารายวิชา การบริหารหลักสูตร (UTQ-102) ?
ก)* มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การจัดทำหลักสูตรระดับชาติ
ข) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษา
ค) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการส่งเสริม สนับสนุน การใช้หลักสูตรระดับสถานศึกษา
ง) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การกำกับดุแลคุณภาพการนำหลักสูตรระดับสถานศึกษาไปใช้
5. การบริหารจัดการหลักสูตรมีกี่ระดับ ?
ก) 2 ระดับ
ข)* 3 ระดับ
ค) 4 ระดับ
ง) 5 ระดับ
6. ข้อใดกล่าวถึงรายวิชาพื้นฐานไม่ถูกต้อง ?
ก) เป็นรายวิชาที่นักเรียนทุกคนต้องเรียน
ข)* เป็นรายวิชาที่นักเรียนเลือกเรียนได้ตามความถนัด
ค) เป็นรายวิชาที่เปลี่ยนแปลงมาตรฐานและตัวชี้วัดไม่ได้
ง) เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาต้องจัดการสอนให้ครบ
7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมใดที่เพิ่มเติมในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ?
ก) กิจกรรมแนะแนว
ข) กิจกรรมชมรม
ค) กิจกรรมลูกเสือ
ง)* กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและสาธารณประโยชน์
8. สิ่งใดกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ไม่สามารถปรับหรือเพิ่มเติมได้เมื่อไปจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา?
ก)* คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข) ตัวชี้วัด
ค) วิสัยทัศน์
ง) สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
9. หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับประถมศึกษา กำหนดให้มีเวลาเรียนทั้งสิ้นไม่เกินกี่ชั่วโมงต่อปี ?
ก) 840 ชั่วโมง/ปี
ข)* 1,000 ชั่วโมง/ปี
ค) 1,200 ชั่วโมง/ปี
ง) 1,500 ชั่วโมง/ปี
10. ข้อใดกล่าวถึงรายวิชาเพิ่มเติมไม่ถูกต้อง ?
ก) เป็นรายวิชาที่เปิดตามความต้องการของผู้เรียน
ข) เป็นรายวิชาที่เปิดตามความต้องการของท้องถิ่น
ค)* เป็นรายวิชาที่นำตัวชี้วัดจากหลักสูตรแกนกลางมาใช้
ง) กำหนด “ผลการเรียนรู้” เป็นเป้าหมายแทนตัวชี้วัด
11. บุคลใดมีหน้าที่โดยตรงในการจัดทำโครงสร้างรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ?
ก)* ครูผู้สอนประจำรายวิชา
ข) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ค) ครูวิชาการของโรงเรียน
ง) คณะกรรมการสถานศึกษา
12. ผู้ลงนามในประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาคือบุคลใด ?
ก) ผู้แทนชุมชน
ข) ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา
ค) ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา
ง)* ผู้บริหารสถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษา
13. ขั้นตอนแรกในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ?
ก) วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
ข)* แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ค) จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ง) คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ
14. บุคคลใดเกี่ยวข้องในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาน้อยที่สุด ?
ก) ผู้บริหาร
ข) ครู
ค)* นักการเมือง
ง) ผู้ปกครองและนักเรียน
15. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีในการใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ?
ก) เหมาะกับครูที่ทำการสอนหลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ข) ลดภาระการวัดและการประเมินผลของครู
ค)* ช่วยให้ครูไม่ต้องประเมินผลครบทุกตัวชี้วัด
ง) เหมาะกับโรงเรียนที่มีครูไม่ครบชั้นเรียน
16. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดโครงสร้างรายวิชา ?
ตอบลบก) หน่วยการเรียนรู้
ข) สาระการเรียนรู้
ค) ตัวชี้วัด/เวลา
ง)* เกณฑ์การประเมิน
17. ในหน่วยการเรียนรู้ การที่จะทำให้นักเรียนมีมาตรฐานตามตัวชี้วัดข้อใดคือสิ่งสำคัญที่สุด ?
ก) ชื่อหน่วยการเรียนรู้
ข)* กิจกรรมการเรียนรู้
ค) เวลาเรียน
ง) จำนวนนักเรียน
18. หัวใจของการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษาสู่ชั้นเรียนคือข้อใด ?
ก) โครงสร้างรายวิชา
ข)* หน่วยการเรียนรู้
ค) สาระสำคัญ
ค) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
19. ผู้นำสำคัญในการสร้างบรรยากาศของการร่วมคิดร่วมวางแผน ร่วมทำหลักสูตรสถานศึกษาคือข้อใด ?
ก) ผู้ปกครอง
ข) คณะครู
ค)* ผู้บริหารสถานศึกษา
ง) ผู้นำชุมชน
20. ข้อใดไม่เกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรในการทำหลัก สูตรสถานศึกษาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ?
ก) การจัดสื่อวัสดุ อุปกรณ์ให้เหมาะสมเพียงพอ
ข) จัดอาคารสถานที่ต่างๆให้พอเพียงและเอื้อต่อการเรียนการสอน
ค) จัดครูเข้าสอนตรงความรู้ความสามารถและความถนัด
ง)* จัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องส่งเสริมการสร้างเครือข่าย
21. ข้อใดไม่ใช่การส่งเสริม สนับสนุน การใช้หลักสูตรระดับสถานศึกษา ?
ก)* การนิเทศ กำกับติดตาม
ข) การพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา
ค) การส่งเสริมสนับสนุนทางวิชาการ
ง) การดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม
22. ขั้นตอนแรกของการพัฒนาบุคลากรคือข้อใด ?
ก) ประเมินความต้องการและความจะเป็นในการพัฒนาบุคลากร
ข)* แต่งตั้งคณะทำงานด้านการพัฒนาบุคลากร
ค) จัดแหล่งเรียนรู้ หลักสูตร และการจัดการเรียนรู้แก่บุคลากร
ง) ดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนที่วางไว้
23. กิจกรรมใดเกี่ยวกับการสนับสนุนทางวิชาการของสถานศึกษาในการพัฒนา หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ น้อยที่สุด ?
ก)* การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพ
ข) จัดระบบการบริหารงานทางวิชาการที่มีประสิทธิภาพ
ค) ส่งเสริมสนับสนุนครูเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ง) จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูและบุคลากรทางการศึกษา
24. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักของการวิจัยในชั้นเรียน?
ก) เพื่อแก้ปัญหาในการเรียนการสอน
ข) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาการเรียนของนักเรียน
ค) เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนของครู
ง)* เพื่อจัดทำสื่อและหาประสิทธิภาพ
25. การประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาควรมุ่งเน้นการประเมินเรื่องใดที่สำคัญ ที่สุด ?
ก) องค์ประกอบของหลีกสูตร
ข) โครงสร้างของหลักสูตร
ค)* คุณภาพของผู้เรียนทั้งผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ง) หน่วยการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้
26. การวิจัยในชั้นเรียนนั้นครูควรเริ่มต้นจากสิ่งใดก่อนข้ออื่น ?
ก) เลือกปัญหาสำคัญในการสอนของครู
ข) เลือกปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อผู้ปกครอง
ค) เลือกปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน
ง)* เลือกปัญหาที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อผู้เรียนมากที่สุด
27. นิเทศ ติดตาม การใช้หลักสูตรมีจุดประสงค์สำคัญที่สุดคือข้อใด ?
ก) ช่วยตรวจสอบกระบวนการสอนของครู
ข) เป็นการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เรียน
ค) เป็นการพัฒนาดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ง)* นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่หลักสูตรกำหนด
28. กระบวนการนิเทศ ติดตาม ข้อใดไม่ควรใช้ในสถานศึกษา ?
ก)* ผู้บริหารกำหนดวิธีการในการนิเทศติดตาม
ข) นิเทศเป็นระบบครบวงจรต่อเนื่องและครอบคลุม
ค) ร่วมกันกำหนดความต้องการหรือกำกับติดตามในการนิเทศ
ง) สร้างความเข้าใจ และทัศนคติเกี่ยวกับการนิเทศในเชิงบวก
29. ในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามุ่งพัฒนาคุณภาพด้านใดมากที่สุด ?
ก) ผู้บริหาร
ข) ครูผู้สอน
ค)* ผู้เรียน
ง) การจัดการเรียนการสอน
30. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นหลักที่เกี่ยวข้องในการประเมินผลการใช้หลักสูตร ?
ก)* ปัจจัยของการใช้หลักสูตร
ข) กระบวนการใช้หลักสูตร
ค) ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ง) เทคนิคและทักษะการสอนของครู
หมายเหตุได้คะแนน : 28.00
เฉลยคณิตศาสตร์ประถม ข้อสอบ utq ได้ 28 คะแนน
ตอบลบ1. ข้อใดไม่ใช่คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ที่ต้องการจัดให้เกิดควบคู่กันไปกับสาระด้านความรู้
ก. การทำงานอย่างมีระบบ
ข. มีความรับผิดชอบ
ค. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
Xง. การให้เหตุผล
2. ข้อใดเป็นคุณภาพของผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
Xก. มีความคิดสร้างสรรค์
ข. มีระเบียบวินัยในการทำงาน
ค. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
ง. มีวิจารณญาณในการคิด
3. ข้อใดเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้
ก. กระบวนการเชื่อมโยงความรู้
Xข. กระบวนการสร้างความความรู้
ค. กระบวนการสื่อความหมาย
ง. กระบวนการให้เหตุผล
4. ข้อใดเป็นส่วนประกอบของโครงสร้างรายวิชา
ก. จุดประสงค์การเรียนรู้
Xข. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค. สื่อและแหล่งเรียนรู้
ง. วิธีวัดผลและประเมินผล
5. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้
ก. สาระการเรียนรู้
ข. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
Xง. ถูกต้องทุกข้อที่กล่าวมา
6. สาระที่คุณครูต้องสอดแทรกในกระบวนการจัดการเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้ คือข้อใด
ก. จำนวนและการดำเนินการ
ข. เรขาคณิต
ค. การวัด
Xง. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
7. ข้อใดกล่าวถึงหลักการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก. ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและแก้ปัญหาด้วยตนเอง
ข. จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
ค. ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าจากสื่อและเทคโนโลยีต่างๆโดยอิสระ
Xง. ถูกต้องทุกข้อที่กล่าวมา
8. สิ่งสำคัญที่ครูผู้สอนควรคำนึงถึงในขั้นดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ คือ ข้อใด
Xก. ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน
ข. ความต้องการของผู้เรียน
ค. ความถนัดของผู้เรียน
ง. ความพร้อมของผู้เรียน
9. ข้อใดเป็นรูปแบบของการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ก. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
ข. การเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้า
ค. การเรียนรู้แบบสืบเสาะความรู้
Xง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
10. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ก. ผู้สอนควรเลือกรูปแบบของการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและผู้เรียน
ข. การเรียนเนื้อหาสาระหนึ่งๆ อาจใช้รูปแบบของการเรียนรู้และรูปแบบผสมผสานกันได้
ค. ในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนควรเน้นด้านความรู้มากกว่าด้านทักษะกระบวนการ
Xง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข
11. ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหวังให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มคณิตศาสตร์
ก. ปัจจัยสำคัญของการเรียนรู้
ข. แนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้
Xค. การเรียนรู้จากการทดลอง
ง. รูปแบบของการจัดการเรียนรู้
12. ปัจจัยหลักที่สำคัญของการจัดการเรียนรู้ มีอะไรบ้าง
ก. ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้เรียน ความปลอดภัย
Xข. ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้เรียน สภาพแวดล้อม
ค. ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้เรียน ความมีระเบียบ
ง. ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้เรียน ความคิดสร้างสรรค์
13. การจัดการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาข้อใดที่ผู้สอนสามารถจัดให้ผู้เรียนได้เหมาะสม
Xก. กำหนดประเด็นคำถามนำให้คิด
ข. ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ
ค. ฝึกให้คิดวิเคราะห์
ง. ฝึกทำอย่างต่อเนื่อง
14. ข้อใดที่ผู้บริหารจะต้องให้การสนับสนุนเพื่อที่จะช่วยให้การจัดการเรียนรู้ บรรลุมาตรฐาน
ก. งบประมาณ
ข. การบริหาร , การนิเทศ
ค. การประเมิน , การประสานงาน
Xง. ถูกทุกข้อ
15. กระบวนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน มีอะไรบ้าง
ก. ทำความเข้าใจ , วางแผน , ดำเนินการ , ตรวจสอบ
ข. วางแผน ดำเนินการ ทำความเข้าใจ ตรวจสอบ
Xค.ทำความเข้าใจ ดำเนินการ วางแผน ตรวจสอบ
ง. วางแผน ทำความเข้าใจ ดำเนินการ ตรวจสอบ
16. ข้อใดเป็นการพัฒนาความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
ตอบลบก. จัดกิจกรรมหรือสถานการณ์แก้ปัญหาสอดแทรก
Xข. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ
ค. ให้โจทย์หรือปัญหาที่ผู้เรียนสนใจ
ง. ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์
17. การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ ไปประยุกต์ในวิชาชีพและชีวิตประจำวันเป็นการพัฒนาทักษะด้านใด
ก. กระบวนการให้เหตุผล
ข. กระบวนการสื่อสาร
Xค. กระบวนการเชื่อมโยง
ง. กระบวนการทักษะ
18. องค์ประกอบหลักที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างมีเหตุผลและรู้จักให้เหตุผลข้อใดไม่ใช่
ก. ให้ผู้เรียนได้พบกับโจทย์หรือปัญหาที่ผู้เรียนสนใจ
ข. ให้ผู้เรียนมีโอกาสและเป็นอิสระที่จะแสดงออกในการใช้เหตุผล
ค. ผู้สอนช่วยสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจว่าเหตุผลถูกต้องตามหลักเกณฑ์หรือไม่
Xง. การนำคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
19. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สามารถนำไปจัดให้เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลาของผู้เรียนคือข้อใด
ก. จากการปฏิบัติจริง จากการทดลอง จากการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้
Xข. จากการปฏิบัติจริง ใช้คำถามและแสดงเหตุผล จากการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้
ค. จากการปฏิบัติจริง ใช้คำถามและแสดงเหตุผล จากการศึกษาค้นคว้า จากการคาดการณ์
ง. ไม่มีข้อใดถูก
20. ผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรเลือกวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การปฏิบัติและการประเมินผลตามสภาพจริง
ค. การใช้แฟ้มสะสมงาน
Xง. ถูกทั้ง ก ข และ ค
21. ข้อใดไม่ใช่คุณภาพของเครื่องมือวัดผลและประเมินผล
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
Xค. ความเบี่ยงเบน
ง. อำนาจการจำแนก
22. ถ้าต้องการประเมินทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และการตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ ควร ใช้การประเมินโดยวิธีใด
ก. การทดสอบ
Xข. การให้ผู้เรียนปฏิบัติจริงและสังเกตกระบวนการทำงานของผู้เรียน
ค. การใช้แฟ้มสะสมงาน
ง. การสัมภาษณ์
23. ข้อใดเป็นหลักการวัดผลและประเมินผล
ก. ต้องวัดผลให้ตรงกับมาตรฐานการเรียนรู้
ข. วัดผลด้วยเครื่องมือที่มีคุณภาพ
ค. ใช้ผลการวัดผลและประเมินผลอย่างคุ้มค่า
X’. ถูกทั้งข้อ ก ข และ ค
24. ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหมายของการวัดผลและประเมินผล
ก. ตรวจสอบความรู้พื้นฐาน
ข. วินิจฉัยข้อบกพร่อง
Xค. เปรียบเทียบความสามารถของนักเรียน
ง. ตัดสินผลการเรียน
25. หลักการประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ควรยึดหลักการในข้อใด
ก. ทำทุกครั้งเมื่อสิ้นสุด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
Xข. สอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้
ค. ประเมินผลเมื่อต้องการตัดสินผลการเรียนเท่านั้น
ง. เน้นการประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจมากกว่าด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
26. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
ก. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ข. แบบสัมภาษณ์
ค. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
Xง. แบบทดสอบ
27. ข้อใดเป็นขั้นตอนของการสร้างเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric)
Xก. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเกณฑ์การให้คะแนน
ข. ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้
ค. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและเกณฑ์การให้คะแนน
ง. สร้างคู่มือการใช้เกณฑ์การให้คะแนน
28. ข้อใดเป็นแบบของการสร้างเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric)
ก. แบบให้คะแนนตามสภาพจริง
ข. แบบการให้คะแนนในภาพรวม
ค. แบบการให้คะแนนแบบแยกส่วน
Xง. ถูกทั้ง ก และ ข
29. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของเว็บไซต์ (Website) ได้ถูกต้อง
ก.เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัด ทั้งด้านเวลา สถานที่
ข.เป็นแหล่งเรียนรู้แหล่งใหญ่ที่สามารถเข้าไปศึกษาได้อย่างทั่วถึง
ค.มีการนำเสนอข้อมูลข่าวสารความรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย
Xง.ถูกทั้ง ข้อ ก ข และ ค
30. ข้อใดกล่าวถึงข้อดีของการใช้สื่อดิจิทัล (Learning Object) ได้ถูกต้องที่สุด
ก.นักเรียนจำนวนมากสามารถใช้สื่อดิจิทัลได้พร้อมกันทั้งห้องเรียน
X ข.นักเรียนสามารถใช้สื่อดิจิทัลในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ค.ครูสามารถนำมาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ทุกบทเรียน
ง.ช่วยให้นักเรียนหันมาสนใจใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น
1. “ขอบข่ายที่แสดงถึงภาพรวมของรายวิชา” เรียกว่าอะไร
ตอบลบโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างเวลา
โครงสร้างกิจกรรม
2. ข้อใดเป็นการนำหลักสูตรสู่การสอนตามลำดับขั้น
จัดทำโครงสร้างรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
กำหนดรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย การจัดทำโครงสร้างหน่วย
จัดการเรียนรู้ตามบทเรียนที่กำหนด จัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย
ออกแบบบทเรียนจากหน่วยการเรียนรู้ กำหนดการวัดและประเมินผล
3. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการจัดทำหน่วยการเรียนรู้
กำหนดสาระสำคัญ
กำหนดเกณฑ์การประเมินผล
วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระบุมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
4. ข้อใดเป็นการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
จุดประสงค์เนื้อหา-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้-กำหนดวิธีวัดและประเมินผล
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้-กำหนดวิธีวัดและประเมินผล
กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้-กำหนดชิ้นงาน/ภาระงาน/วิธีวัดประเมินผล-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
มาตรฐาน/สาระการเรียนรู้-กำหนดภาระงาน/วิธีวัดผล-ออกแบบการเรียนรู้
5. ข้อใดแสดงถึงองค์ประกอบของโครงสร้างรายวิชา
ชื่อหน่วย..../มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
จุดประสงค์การเรียนรู้/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
ผลการเรียนรู้/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
ชื่อหน่วย.../ผลการเรียนรู้/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
6. ข้อใดจัดเป็นภาระงาน
การจัดทำโครงงานสุขภาพดี
การเคลื่อนไหวประกอบดนตรี
การรายงานโครงการ 3 อ.
การจัดตารางออกกำลังกาย
7. ชิ้นงานหมายถึงข้อใด
แผนที่สุขภาพ
การโต้วาทีกินมังสวิรัติขจัดโรค
การโต้วาทีสุขภาพดีไม่มีขาย
การเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ
8. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ควรลำดับอย่างไร
สรุปบทเรียน-ขั้นสอน-ขั้นนำเข้าสู่การเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน-ขั้นสอน/ถ่ายทอดการเรียนรู้และขั้นสรุป
ขั้นชี้แจงขอบข่ายการเรียนรู้-ขั้นอธิบายสาธิต-ขั้นสรุป
ขั้นสำรวจความพร้อม-ขั้นต่ำ-ขั้นสอน-ขั้นสรุป-ขั้นนำไปใช้
9. การสร้างวินัยเชิงบวกในการจัดการเรียนรู้เป็นการพัฒนาด้านใด
ด้านพฤติกรรมมนุษย์
ด้านสติปัญญามนุษย์
ด้านอารมณ์ของมนุษย์
ด้านสังคมของมนุษย์
10. ข้อใดเป็นเป้าหมายการสอนสุขศึกษา
ความรู้สู่สากล
เน้นความรู้คู่คุณธรรม
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ
พฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
11. การให้นักเรียน 10 คนต่อตัวอยู่ได้นาน 2 นาที เป็นการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะใด
คิดวิเคราะห์
คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
12. การให้นักเรียนตั้งชื่อจากภาพที่มีสาเหตุความรุนแรง เป็นการฝึกทักษะใด
คิดวิเคราะห์
คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
13. ให้นักเรียนบอกสาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหาความรุนแรง เป็นการฝึกทักษะการคิดแบบใด
คิดวิเคราะห์
คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
14. การสอนสุขศึกษาและพลศึกษา ในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ควรจัดลำดับการเรียนรู้อย่างไร
ตอบลบความรู้ ทักษะ เจตคติ
เจตคติ ทักษะ ความรู้
ทักษะ ความรู้ เจตคติ
ความรู้ เจตคติ ทักษะ
15. ข้อใดเป็นการกล่าวถึงแนวคิดการสอนสุขศึกษาที่ไม่ถูกต้อง
การสอนสุขศึกษาเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
การสอนสุขศึกษาไม่จำเป็นต้องเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
การสอนสุขศึกษาควรสอนในลักษณะเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือห้าม
การสอนสุขศึกษาควรมีวิธีการที่หลากหลายผสมผสานกันไปอย่างต่อเนื่อง
16. ข้อใดเป็นเป้าหมายการสอนพลศึกษา
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและสมรรถนะทางกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและสร้างสมรรถนะทางกายเพื่อสุขภาพ
17. การวัดและประเมินผลวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาควรทำตามลำดับในข้อใด
ก่อนเรียน-หลังเรียน-ระหว่างเรียน
ระหว่างเรียน-หลังเรียน-ก่อนเรียน
ก่อนเรียน-ระหว่างเรียน-หลังเรียน
ก่อนเรียน-ระหว่างเรียน-ท้ายชั่วโมง
18. ใครเป็นผู้วัดและประเมินผลในชั้นเรียน
ผู้สอน
ผู้เรียน
เพื่อน
ถูกทุกข้อ
19. ระดับชั้นใดกำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้เป็นรายปี
ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น
20. ระดับมัธยมต้นกำหนดเวลาและหน่วยกิตของสุขศึกษาและพลศึกษาในแต่ละชั้นปีกี่ชั่วโมง
40 ชม. 1 หน่วยกิต
60 ชม. 1.5 หน่วยกิต
80 ชม. 2 หน่วยกิต
80 ชม. 2.5 หน่วยกิต
21. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการวัดและประเมินผล
ผู้วัด สิ่งที่ต้องการวัด แบบประเมิน แบบทดสอบ
ผู้วัด สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือ และเกณฑ์
ครู นักเรียน แบบทดสอบ แบบสำรวจ แบบประเมิน
เกณฑ์การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ แบบบันทึก
22. ก่อนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จะต้องทำสิ่งใดก่อน
กำหนดโครงการสอน
เขียนโครงสร้างรายวิชา
วิเคราะห์สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ศึกษาสาระสำคัญของหลักสูตร
23. ข้อใดเป็นขั้นตอนของการวางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา
จัดทำโครงสร้างรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ออกแบบหน่วย วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา
24. ส่วนใดของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนมากที่สุด
ตอบลบสาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัดรายวิชา
จุดประสงค์การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
25. สาระสำคัญในแผนการจัดการเรียนรู้หมายถึงสิ่งใด
สาระรายเรื่อง
สาระรายหน่วย
ความรู้ของเรื่องที่จะสอน
ความคิดรวบยอดของเรื่องในแผนนั้น ๆ
26. การเขียนสาระการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ควรเขียนอย่างไร
เขียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
เขียนให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องในแผนการจัดการเรียนรู้
เขียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้
เขียนให้สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานรายวิชาของหลักสูตร
27. การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ควรสอดคล้องกับเรื่องใดบ้าง
วัดผลประเมินผล ภาระงาน/ชิ้นงาน
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบวนการเรียนรู้
วัดผลประเมินผล ภาระงาน/ชิ้นงาน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
28. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีควรเป็นอย่างไร
บอกคุณภาพผู้เรียนได้ครบถ้วน
มีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับผู้เรียน ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่ให้เกิดการเรียนรู้ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดที่กำหนด
มีรูปแบบที่คงที่แน่นอน ไม่สามารถปรับกิจกรรมการเรียนรู้ได้
ใช้เป็นคู่มือในการจัดการเรียนรู้กับนักเรียนได้ทุกรุ่นทุกคนโดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง
29. หลังจากการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ผู้สอนควรเตรียมตัวอย่างไรในการใช้แผนการเรียนรู้
ทำความเข้าใจกับเรื่องที่จะสอน เตรียมสื่ออุปกรณ์ เครื่องมือวัดและประเมินผลและแหล่งเรียนรู้ให้พร้อม
นำแผนการจัดการเรียนรู้ไปขยายผลแก่เพื่อนครู เพื่อขอคำชี้แนะเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการใช้แผน
ทบทวนวิธีการจัดการเรียนรู้ ประเมินผู้เรียนเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นไว้ล่วงหน้า
เตรียมเครื่องมือประเมินก่อนเรียนและหลังเรียนไว้ทุกแผนทุกเรื่อง
30. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการบันทึกท้ายแผน
ปรับผู้เรียน เปลี่ยนผู้สอน เมื่อเกิดปัญหา
ช่วยให้ผู้สอนประสบผลสำเร็จในการสอน
ช่วยให้ผู้สอนกำหนดหลักสูตรได้ง่ายขึ้น
ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงการเรียนการสอน
คำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
ตอบลบ1. ข้อใดคือเป้าหมายของสังคมศึกษา - สังคมศาสตร์
เป็นพลเมืองดี - เป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน
เป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน - เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ
เป็นผู้นำทางความคิด - เป็นพลเมืองดีที่ทำคุณประโยชน์ให้บ้านเมือง
เป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ - เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสังคมศาสตร์
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมประกอบด้วยสาระใดบ้าง
รัฐศาสตร์ จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา
ศาสนา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ศาสนา หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์
3. การสอนสังคมศึกษาแตกต่างจากการสอนสังคมศาสตร์อย่างไร
เน้นการสร้างนักวิชาการเพื่อพัฒนาเฉพาะด้านสังคม
เน้นการมีค่านิยมที่ดีเพื่อสร้างสังคมให้เจริญก้าวหน้าด้านวิชาการ
เน้นการดำรงตนให้เหมาะสมกับค่านิยมเพื่อความมีชีวิตที่มีความสุข
เน้นให้มีความรู้เพื่อการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมในฐานะเป็นพลเมืองดี
4. ปรัชญาสำคัญของสังคมศึกษา คืออะไร
ศึกษาหลักการเพื่อสร้างเยาวชนให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคม
พัฒนาตนเองเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อใช้วิธีการทางสังคมศาสตร์แก้ไขปัญหา
เน้นการสร้างบุคลิกภาพเพื่อการปฏิบัติงานในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านสังคม
พัฒนาตนเองเพื่อความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และแก้ปัญหาด้วยเหตุผล
5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสังคมศึกษา
เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
จัดเนื้อหาสาระเน้นการบูรณาการเพื่อการปฏิบัติตนในสังคม
จัดหลักสูตรเพื่อสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเกี่ยวกับสังคม
เน้นเนื้อหาสาระที่เหมาะสมสำหรับระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
6. ข้อใดคือประเด็นสำคัญสำหรับการศึกษาภูมิศาสตร์สมัยใหม่ตาม
6. ข้อใดคือประเด็นสำคัญสำหรับการศึกษาภูมิศาสตร์สมัยใหม่ตามแนวของสมาคมนักภูมิศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา (AAG)
สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตของมนุษยชาติ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ และวิกฤตสิ่งแวดล้อม
โลกและจักรวาล ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และโลก และสารสนเทศภูมิศาสตร์
ทำเลที่ตั้ง สถานที่ การเคลื่อนที่ ภูมิภาค และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และโลก
7. สาระใดที่สอนด้านการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
ภูมิศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมืองและการดำเนินชีวิต
8. ข้อใดคือวิธีการศึกษาภูมิศาสตร์ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน
การศึกษาความสอดคล้องระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
การเปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่างของแต่ละพื้นที่
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสังคมโดยใช้เทคโนโลยีภูมิศาสตร์
การวิเคราะห์เชิงพื้นที่เกี่ยวกับมนุษย์และสรรพสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
9. ลักษณะใดไม่ใช่ลักษณะของปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ชาวดัตช์สร้างโพลเดอร์เพื่อปลูกดอกทิวลิปและเลี้ยงสัตว์
ชาวอียิปต์สร้างเขื่อนอัสวานเพื่อใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ชาวเอสกิโมสร้างอิกลูสำหรับพักอาศัยสำหรับการล่าสัตว์ในฤดูหนาว
ประชากรในเขตร้อนสวมเสื้อผ้าที่เบาบางเพื่อกันแสงแดดและระบายความร้อนจากร่างกาย
10. ข้อใดเป็นแนวทางการศึกษาภูมิศาสตร์ด้านมิติสัมพันธ์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในช่วงเวลาหนึ่งๆ
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ศึกษาพื้นที่บนโลกในบริเวณหนึ่งๆ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการศึกษาภูมิภาคอื่นๆ
อธิบายสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลกโดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประกอบ
11. ลักษณะใดเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและความร้อน
ตอบลบในเขตร้อน อินทรียวัตถุในดินสลายตัวเร็วขึ้น
ในเขตทะเลทราย มีการชะล้างแร่ธาตุในดินค่อนข้างสูง
ในเขตอบอุ่น ดินไม่ดีจึงไม่นิยมปลูกข้าวซึ่งเป็นพืชเขตร้อน
ในเขตหนาว มีอากาศเย็นมากมีอินทรียวัตถุมากแต่ไม่สลายตัว
12. ข้อใดคือขอบข่ายในการศึกษาภูมิศาสตร์ปัจจุบัน
ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ ภูมิศาสตร์ภูมิภาค และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิสัณฐานวิทยา ภูมิศาสตร์ภูมิภาค และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ดินและพืช ภูมิอากาศวิทยา ภูมิศาสตร์ภูมิภาค และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
13. ตัวการธรรมชาติใดที่ก่อให้เกิดเนินตะกอนรูปพัด (Alluvial fan) ขึ้น
ลม ฝน
คลื่น ลม
ลำธาร แม่น้ำ
แม่น้ำ กระแสน้ำ
14. บริเวณใดของประเทศไทยที่มีการคดโค้งของเปลือกโลกมากที่สุด
ภาคใต้ ภาคเหนือ
ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก
ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
15. ข้อใดเป็นอิทธิพลของลักษณะทางกายภาพที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ชาวอินเดียนิยมเผาศพริมฝั่งแม่น้ำคงคา
ชาวฝรั่งเศสนิยมปลูกองุ่นเพราะชอบดื่มไวน์
ชาวญี่ปุ่นนิยมกินปลาดิบเพราะรสชาติอร่อย
ชาวมองโกเลียเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อนในเขตทุ่งหญ้า
16. องค์ประกอบสำคัญข้อใดที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
อุณหภูมิ ลมมรสุม
อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน
กระแสน้ำ ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝน การวางตัวของเทือกเขา
17. ลักษณะของหยาดน้ำฟ้าใดที่ไม่ปรากฏในประเทศไทย
ลูกเห็บ
แม่คะนิ้ง
ฝนน้ำแข็ง
น้ำค้างแข็ง
18. เพราะเหตุใดบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำจึงเป็นแหล่งเกษตรกรรมสำคัญ
เป็นที่ตั้งเมืองหลวง
ไม่มีภัยธรรมชาติเกิดขึ้น
มีดินตะกอนที่อุดมสมบูรณ์
เป็นแหล่งอารยธรรมสำคัญในอดีต
19. ข้อใดเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประเภทให้ข้อมูล
แผนที่ ภาพจากดาวเทียม อินเทอร์เน็ต
แผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ เครื่องวัดความเร็วลม
ภาพถ่ายทางอากาศ ลูกโลก เครื่องวัดปริมาณน้ำฝน
อินเทอร์เน็ต เครื่องกำหนดพิกัดทางภูมิศาสตร์ ลูกโลก
20. บริเวณใดของโลกที่มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นแถบศูนย์สูตรตามเกณฑ์ของวลาดิเมียร์ เคิปเปิน (Vladimir Kóppen)
ที่ราบลุ่มแม่น้ำหวงเฮอ
ที่ราบลุ่มแม่น้ำแอมะซอน
พื้นที่รอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
บริเวณตอนเหนือของอาร์เจนตินา
21. ในแผนที่ส่วนใหญ่จะใช้สีใดแสดงสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ตอบลบสีเขียวแก่
สีแดงและสีดำ
สีน้ำตาลหรือส้ม
สีฟ้าหรือสีน้ำเงิน
22. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การศึกษาภาพถ่ายทางอากาศที่เห็นเส้นขอบฟ้า ควรเลือกภาพถ่ายเฉียงต่ำ
การศึกษาลักษณะทางกายภาพของจังหวัดเชียงใหม่ ควรใช้แผนที่มาตราส่วน 1:1,000,000
การศึกษาข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาและสมุทรศาสตร์ ควรใช้ข้อมูลจากดาวเทียมโนอา (NOAA)
การศึกษาลักษณะป่าไม้ในประเทศไทย ควรเลือกภาพจากดาวเทียมแลนด์แซทดีกว่าดาวเทียมธีออส
23. เพราะเหตุใดระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จึงได้รับความนิยมที่จะใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผนและการจัดการ
เป็นการจัดทำระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพโดยนักภูมิศาสตร์
เป็นระบบที่จัดทำอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการใช้เทคโนโลยีเพื่อแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่
เป็นการนำภาพจากดาวเทียมผสมผสานกับเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม
เป็นการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยใช้ในการจัดทำทุกขั้นตอนเพื่อการวางแผนในระดับประเทศ
24. เพราะเหตุใดข้อมูลจากเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศจึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
การจัดทำเป็นวิทยาศาสตร์ ได้ข่าวสารที่ถูกต้องและทันสมัย
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการถูกมากกว่าเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อื่นๆ
การอธิบายข้อมูลเชิงพื้นที่ทำได้ตลอดเวลาและราคาถูกกว่าการใช้แผนที่
การจัดทำสะดวกและรวดเร็วในการประมวลผลเมื่อเปรียบเทียบกับแผนที่
25. องค์ประกอบใดสำคัญที่สุดในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
บุคลากร
ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์
ขั้นตอนการทำงาน
26. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการรับรู้จากระยะไกล (RS)
ใช้แหล่งพลังงานจากดวงอาทิตย์อย่างเดียว
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น
ใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักการสำคัญ
ใช้ประโยชน์ในการกำหนดตำแหน่งบนโลกตลอด 24 ชั่วโมง
27. วิธีการสอนภูมิศาสตร์แบบใดที่ช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะทางสังคมและเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์โดยตรง
การสอนโดยใช้โครงงาน
การสอนแบบโยนิโสมนสิการ
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การฝึกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
28. ข้อใดเป็นหลักการสำคัญของการสอนภูมิศาสตร์ให้ผู้เรียนสนุกและมีความสุข
เรียนสิ่งใกล้ตัวซึ่งสอดคล้องกับสภาพสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
เรียนรู้จากสภาพจริง เรื่องใกล้ตัว และส่งเสริมการค้นคว้าด้วยตนเอง
เรียนภาคทฤษฎีและใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ทุกประเภทอย่างสม่ำเสมอ
สนับสนุนให้ผู้เรียนยอมรับ เห็นคุณค่าและมีทัศนคติที่ดีต่อบุคคลในสังคม
29. ข้อใดเป็นลำดับขั้นตอนของการสอนภูมิศาสตร์โดยให้ผู้เรียนศึกษานอกสถานที่
กำหนดหัวข้อ > ค้นคว้าข้อมูล > อภิปรายกลุ่มย่อย > ดำเนินการ
กำหนดหัวข้อ > สอนการจดบันทึก > สำรวจเพื่อทำแผนผัง > วิเคราะห์ข้อมูล
กำหนดประเด็น > วางแผนและการเตรียมการ > ศึกษานอกสถานที่ > ประเมินผล
ฝึกทักษะการจดบันทึก > ค้นคว้าข้อมูล > ศึกษานอกสถานที่ > ถ่ายภาพเพื่อสรุปงาน
30. เพราะเหตุใดครูจึงไม่ควรเข้มงวดกับผู้เรียนมากเกินไปจนทำให้ผู้เรียนเกิดความเครียดในการเรียน
ทำให้ผู้เรียนไม่ไว้วางใจคนอื่นและเห็นแก่ตัวมากขึ้น
ทำให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อทักษะกระบวนการทางสังคม
ทำให้ผู้เรียนไม่เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองและต่อต้านสังคม
เป็นการสกัดกั้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และการกล้าแสดงออกของผู้เรียน
1. ข้อใดคือความหมายของหลักสูตรสถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ตอบลบหลักสูตรของแต่ละสถานศึกษาที่เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้กำหนดให้
คือหลักสูตรที่จัดขึ้นเป็นไปตามความสนใจ ความต้องการของผู้ปกครอง
หลักสูตรที่มีการนำปัญหา เอกลักษณ์ชุมชนมากำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
มวลประสบการณ์ที่กำหนดไว้ในประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้
2. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์สำหรับเด็กปฐมวัย หมายถึงข้อใด
มาตรฐานที่ สมศ. กำหนดในการประเมินเด็กปฐมวัย
มาตรฐานที่กำหนดไว้ในหลักสูตรและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในแต่ละท้องที่เป็นผู้กำหนด
มาตรฐานของหลักสูตรที่ครอบคลุมคุณภาพของผู้เรียนเป็นองค์รวม
3. การพัฒนาแบบองค์รวมหมายถึงข้อใด
การพัฒนาผู้เรียนในห้องเรียนแต่ละห้องไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง
การพัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึงการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญา
การพัฒนาผู้เรียนโดยบูรณาการการเล่น การเรียน และการเลี้ยงดูไปพร้อมกัน
4. สาระการเรียนรู้ หมายถึงข้อใด
เนื้อหาสาระที่เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้
สาระที่เด็กควรเรียนรู้ และประสบการณ์สำคัญ
สาระที่เด็กควรรู้ สาระที่เด็กอยากรู้ และสาระที่เด็กรู้แล้ว
สาระการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
5. ข้อใด มิใช่ หลักการในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย
จัดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการฟัง จับต้อง สัมผัส และดมกลิ่น
จัดให้เด็กได้เล่น ได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ และได้การพักผ่อน
เตรียมเด็กให้สามารถอ่านออก เขียนได้ พร้อมเรียนในระดับประถมศึกษา
6. ข้อใดเป็นข้อความที่ ไม่ ถูกต้อง
ต้องนำสาระการเรียนรู้มาจัดในลักษณะหน่วยการสอน
สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
ประสบการณ์สำคัญเป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม
ทักษะที่เด็กต้องเรียนรู้มีหลากหลาย ให้บูรณาการการสอนไปพร้อมๆกัน
7. ข้อใด มิใช่ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
มีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
มีความสามารถใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
มีความสามารถในการคิด และแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับวัย
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
8. การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวัน ต้องครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง
มีการวางแผน เด็กมีส่วนร่วม สอดคล้องกับพัฒนาการ
พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ ด้านสังคม และสติปัญญา
การพัฒนาการคิด พัฒนาการด้านภาษา ความคิดสร้างสรรค์
การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์หลักสูตร และการประเมินพัฒนาการ
9. ข้อใดเป็นการกำหนด+++ส่วนเวลาในการพัฒนาเด็กแต่ละวันที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัย 5 ปี
กิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ วันละประมาณ 60 นาที
กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 20 นาที
กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 40 นาที
กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 60 นาที
10. คุณลักษณะตามวัย ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องมากที่สุด
เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติกับทุกคน
ครูจัดการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามวัยไปพร้อมๆกัน
ในช่วงปฐมวัยควรเป็นการพัฒนาคุณลักษณะด้านร่างกายก่อน
พัฒนาเด็กแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
11. ข้อใด คือความหมายที่ชัดเจนที่สุดของคำว่าพหุปัญญา
ความสามารถในการคิดที่หลากหลาย
ความสามารถในการคิด อ่าน และเขียน
ความสามารถของสติปัญญาทั้ง 8 ด้านของมนุษย์
กระบวนการทำงานของสมองในการวิเคราะห์ สังเคราะห์
12. ในช่วงปฐมวัยสมองส่วนใดกำลังพัฒนา
สมองส่วนหน้า
สมองส่วนกลาง
สมองส่วนหลัง
สมองซ้าย-ขวา
13. หน้าต่างแห่งการเรียนรู้มีความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กอย่างไร
การจัดห้องเรียนให้มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย
การจัดกิจกรรม ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยมีความอยากรู้ ช่างสงสัย ต้องเปิดโอกาสให้เด็กซักถาม สืบค้น ทดลอง
ออกแบบห้องเรียนให้มีหน้าต่างในระดับสายตาเด็กเพื่อการศึกษาภายนอกได้สะดวก
14. สภาวะใดที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ปล่อยให้เด็กเล่นอิสระ มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ
เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและความสามารถอย่างอิสระ
วางแผนการพัฒนา กำกับดูแลการปฏิบัติ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงานร่วมกัน
15. เพราะเหตุใดครูจึงควรคำนึงถึงธรรมชาติการทำงานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา
เพราะสมองสองซีกมีหน้าที่ที่ต่างกัน
เพราะสมองแต่ละซีกมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
เพราะสมองของเพศ หญิง ชาย มีความแตกต่างกัน
เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความสามารถ ความถนัดที่แตกต่างกัน
16. ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ขั้นตอนใดที่จะระบุนวัตกรรมที่ต้องการใช้สอดแทรกลงได้
ตอบลบขั้นวิเคราะห์สาระการเรียนรู้
ขั้นวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นเขียนแผนการจัดประสบการณ์
ขั้นกำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์
17. สิ่งใดที่ควรคำนึงถึง เมื่อจะกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดประสบการณ์
ประสบการณ์สำคัญ
พัฒนาการด้านที่ต้องการพัฒนา
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ
18. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
สติปัญญา
ครอบครัว
สิ่งแวดล้อม
โรคทางพันธุกรรม
19. ข้อใด คือประโยชน์ของการจัดทำบันทึกหลังการจัดประสบการณ์ ที่ถูกต้องที่สุด
เป็นการรายงานผลการสอนของครู
เป็นการรายงานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เป็นการบันทึกเหตุการณ์การจัดประสบการณ์
เป็นการวิเคราะห์และรายงานผลการจัดประสบการณ์
20. มุมกิจกรรมเสรีในข้อใดที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้บทบาทของบุคคล
มุมบล็อก
มุมหนังสือ
มุมบทบาทสมมติ
มุมกิจกรรมสร้างสรรค์
21. มุมประสบการณ์ใดที่สามารถปรับเปลี่ยนให้ความสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ได้น้อยที่สุด
มุมบล็อก
มุมหนังสือ
มุมธรรมชาติ
มุมบทบาทสมมติ
22. ครูคนใดใช้วิธีการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้น้อยที่สุด
ครูสมศรีออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านการเล่น
ครูสมปองให้เด็กลงมือปฏิบัติ ทดลอง และสืบค้นข้อมูล
ครูสมบัติให้เด็กทำแบบฝึก ลีลามือ และแบบฝึกเสริมทักษะ
ครูสมใจให้เด็กมีส่วนร่วมในการกำหนดหน่วยและเรื่องที่อยากเรียนรู้
23. นวัตกรรมในข้อใดที่จะนำมาช่วยพัฒนาผู้เรียนโดยตรง
ไฮ-สโคป
แฟ้มสะสมงาน
การศึกษาชั้นเรียน
การสอนภาษาธรรมชาติ
24. ข้อใดคำนึงถึงหลักการจัดสภาพแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัยมากที่สุด
ความมีอิสระในการเล่นของเด็ก
ความสะดวกของครูในการจัดชั้นเรียน
ความสะอาด สะดวก และปลอดภัย
ความสวยงาม ความคงทนของวัสดุที่นำมาใช้ในการจัด
25. ครูปฐมวัยในข้อใดจัดมุมบล็อกได้ถูกต้องมากที่สุด
ครูติ๊ก จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ห้องน้ำ
ครูต้อย จัดมุมบล๊อกห่างจากมุมหนังสือ
ครูตู่ จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ผู้เรียนมากที่สุด
ครูต๋อย จัดมุมบล็อกไว้หลังห้องไกลจากสายตายครู
26. การจัดมุมในกิจกรรมเสรีในข้อใดสอดคล้องกับการเล่นบทบาทสมมติ
มุมร้านค้า มุมหมอ มุมบ้าน
มุมหมอ มุมธรรมชาติ มุมร้านค้า
มุมบ้าน มุมบล็อก มุมธรรมชาติ
มุมหมอ มุมหนังสือ มุมบล๊อก
27. พฤติกรรมของครูคนใด จัดเป็นการพัฒนาสื่อได้อย่างเหมาะสม
ครูเปิ้ล รักษาความสะอาดและซ่อมแซมสื่อ
ครูปุ๋ย ซ่อมแซม และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
ครูป้อม ปรับปรุง และรักษาความสะอาดของสื่อ
ครูปุ้ม รักษาความสะอาด และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
28. ข้อใดเป็นวิธีการประสานความร่วมมือแบบสองทางระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชนได้ดีที่สุด
การเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นรายบุคคล
การส่งจดหมายถึงผู้ปกครองและชุมชน
การเชิญชวน ผู้ปกครองร่วมกิจกรรมและรับฟังข้อเสนอแนะ
การเชิญ หมอ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ร่วมแก้ปัญหาเด็ก
29. ปรัชญาของการเสริมสร้างพลังความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ความเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมาย
ความรับผิดชอบของสถานศึกษาตามภารกิจที่กำหนด
ความสำเร็จตามจุดประสงค์ของการจัดประสบการณ์
ความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
30. ข้อใดลำดับเหตุการณ์ในการเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ เหมาะสมที่สุด
สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม
สร้างความตระหนัก สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นการรวมกลุ่ม
กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างความตระหนัก สร้างแรงบันดาลใจ สร้างการรับรู้
สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างการรับรู้
1. “ขอบข่ายที่แสดงถึงภาพรวมของรายวิชา” เรียกว่าอะไร
ตอบลบโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างเวลา
โครงสร้างกิจกรรม
2. ข้อใดเป็นการนำหลักสูตรสู่การสอนตามลำดับขั้น
จัดทำโครงสร้างรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
กำหนดรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย การจัดทำโครงสร้างหน่วย
จัดการเรียนรู้ตามบทเรียนที่กำหนด จัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย
ออกแบบบทเรียนจากหน่วยการเรียนรู้ กำหนดการวัดและประเมินผล
3. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการจัดทำหน่วยการเรียนรู้
กำหนดสาระสำคัญ
กำหนดเกณฑ์การประเมินผล
วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระบุมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
4. ข้อใดเป็นการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
จุดประสงค์เนื้อหา-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้-กำหนดวิธีวัดและประเมินผล
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้-กำหนดวิธีวัดและประเมินผล
กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้-กำหนดชิ้นงาน/ภาระงาน/วิธีวัดประเมินผล-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
มาตรฐาน/สาระการเรียนรู้-กำหนดภาระงาน/วิธีวัดผล-ออกแบบการเรียนรู้
5. ข้อใดแสดงถึงองค์ประกอบของโครงสร้างรายวิชา
ชื่อหน่วย..../มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
จุดประสงค์การเรียนรู้/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
ผลการเรียนรู้/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
ชื่อหน่วย.../ผลการเรียนรู้/สาระสำคัญ/เวลา/น้ำหนักคะแนน
6. ข้อใดจัดเป็นภาระงาน
การจัดทำโครงงานสุขภาพดี
การเคลื่อนไหวประกอบดนตรี
การรายงานโครงการ 3 อ.
การจัดตารางออกกำลังกาย
7. ชิ้นงานหมายถึงข้อใด
แผนที่สุขภาพ
การโต้วาทีกินมังสวิรัติขจัดโรค
การโต้วาทีสุขภาพดีไม่มีขาย
การเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ
8. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ควรลำดับอย่างไร
สรุปบทเรียน-ขั้นสอน-ขั้นนำเข้าสู่การเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน-ขั้นสอน/ถ่ายทอดการเรียนรู้และขั้นสรุป
ขั้นชี้แจงขอบข่ายการเรียนรู้-ขั้นอธิบายสาธิต-ขั้นสรุป
ขั้นสำรวจความพร้อม-ขั้นต่ำ-ขั้นสอน-ขั้นสรุป-ขั้นนำไปใช้
9. การสร้างวินัยเชิงบวกในการจัดการเรียนรู้เป็นการพัฒนาด้านใด
ด้านพฤติกรรมมนุษย์
ด้านสติปัญญามนุษย์
ด้านอารมณ์ของมนุษย์
ด้านสังคมของมนุษย์
10. ข้อใดเป็นเป้าหมายการสอนสุขศึกษา
ความรู้สู่สากล
เน้นความรู้คู่คุณธรรม
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ
พฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
11. การให้นักเรียน 10 คนต่อตัวอยู่ได้นาน 2 นาที เป็นการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะใด
ตอบลบคิดวิเคราะห์
คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
12. การให้นักเรียนตั้งชื่อจากภาพที่มีสาเหตุความรุนแรง เป็นการฝึกทักษะใด
คิดวิเคราะห์
คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
13. ให้นักเรียนบอกสาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหาความรุนแรง เป็นการฝึกทักษะการคิดแบบใด
คิดวิเคราะห์
คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
14. การสอนสุขศึกษาและพลศึกษา ในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ควรจัดลำดับการเรียนรู้อย่างไร
ความรู้ ทักษะ เจตคติ
เจตคติ ทักษะ ความรู้
ทักษะ ความรู้ เจตคติ
ความรู้ เจตคติ ทักษะ
15. ข้อใดเป็นการกล่าวถึงแนวคิดการสอนสุขศึกษาที่ไม่ถูกต้อง
การสอนสุขศึกษาเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
การสอนสุขศึกษาไม่จำเป็นต้องเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
การสอนสุขศึกษาควรสอนในลักษณะเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือห้าม
การสอนสุขศึกษาควรมีวิธีการที่หลากหลายผสมผสานกันไปอย่างต่อเนื่อง
16. ข้อใดเป็นเป้าหมายการสอนพลศึกษา
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและสมรรถนะทางกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม
พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและสร้างสมรรถนะทางกายเพื่อสุขภาพ
17. การวัดและประเมินผลวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาควรทำตามลำดับในข้อใด
ก่อนเรียน-หลังเรียน-ระหว่างเรียน
ระหว่างเรียน-หลังเรียน-ก่อนเรียน
ก่อนเรียน-ระหว่างเรียน-หลังเรียน
ก่อนเรียน-ระหว่างเรียน-ท้ายชั่วโมง
18. ใครเป็นผู้วัดและประเมินผลในชั้นเรียน
ผู้สอน
ผู้เรียน
เพื่อน
ถูกทุกข้อ
19. ระดับชั้นใดกำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้เป็นรายปี
ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น
20. ระดับมัธยมต้นกำหนดเวลาและหน่วยกิตของสุขศึกษาและพลศึกษาในแต่ละชั้นปีกี่ชั่วโมง
40 ชม. 1 หน่วยกิต
60 ชม. 1.5 หน่วยกิต
80 ชม. 2 หน่วยกิต
80 ชม. 2.5 หน่วยกิต
21. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการวัดและประเมินผล
ตอบลบผู้วัด สิ่งที่ต้องการวัด แบบประเมิน แบบทดสอบ
ผู้วัด สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือ และเกณฑ์
ครู นักเรียน แบบทดสอบ แบบสำรวจ แบบประเมิน
เกณฑ์การประเมิน วิธีการ เครื่องมือ แบบบันทึก
22. ก่อนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จะต้องทำสิ่งใดก่อน
กำหนดโครงการสอน
เขียนโครงสร้างรายวิชา
วิเคราะห์สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ศึกษาสาระสำคัญของหลักสูตร
23. ข้อใดเป็นขั้นตอนของการวางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา
จัดทำโครงสร้างรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ออกแบบหน่วย วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา
24. ส่วนใดของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนมากที่สุด
สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัดรายวิชา
จุดประสงค์การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
25. สาระสำคัญในแผนการจัดการเรียนรู้หมายถึงสิ่งใด
สาระรายเรื่อง
สาระรายหน่วย
ความรู้ของเรื่องที่จะสอน
ความคิดรวบยอดของเรื่องในแผนนั้น ๆ
26. การเขียนสาระการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ควรเขียนอย่างไร
เขียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
เขียนให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องในแผนการจัดการเรียนรู้
เขียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้
เขียนให้สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานรายวิชาของหลักสูตร
27. การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ควรสอดคล้องกับเรื่องใดบ้าง
วัดผลประเมินผล ภาระงาน/ชิ้นงาน
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบวนการเรียนรู้
วัดผลประเมินผล ภาระงาน/ชิ้นงาน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
28. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีควรเป็นอย่างไร
บอกคุณภาพผู้เรียนได้ครบถ้วน
มีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับผู้เรียน ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่ให้เกิดการเรียนรู้ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดที่กำหนด
มีรูปแบบที่คงที่แน่นอน ไม่สามารถปรับกิจกรรมการเรียนรู้ได้
ใช้เป็นคู่มือในการจัดการเรียนรู้กับนักเรียนได้ทุกรุ่นทุกคนโดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง
29. หลังจากการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ผู้สอนควรเตรียมตัวอย่างไรในการใช้แผนการเรียนรู้
ทำความเข้าใจกับเรื่องที่จะสอน เตรียมสื่ออุปกรณ์ เครื่องมือวัดและประเมินผลและแหล่งเรียนรู้ให้พร้อม
นำแผนการจัดการเรียนรู้ไปขยายผลแก่เพื่อนครู เพื่อขอคำชี้แนะเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการใช้แผน
ทบทวนวิธีการจัดการเรียนรู้ ประเมินผู้เรียนเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นไว้ล่วงหน้า
เตรียมเครื่องมือประเมินก่อนเรียนและหลังเรียนไว้ทุกแผนทุกเรื่อง
30. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการบันทึกท้ายแผน
ปรับผู้เรียน เปลี่ยนผู้สอน เมื่อเกิดปัญหา
ช่วยให้ผู้สอนประสบผลสำเร็จในการสอน
ช่วยให้ผู้สอนกำหนดหลักสูตรได้ง่ายขึ้น
ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงการเรียนการสอน
คำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
ตอบลบ1. ข้อใดคือเป้าหมายของสังคมศึกษา - สังคมศาสตร์
เป็นพลเมืองดี - เป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน
เป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน - เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ
เป็นผู้นำทางความคิด - เป็นพลเมืองดีที่ทำคุณประโยชน์ให้บ้านเมือง
เป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ - เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสังคมศาสตร์
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมประกอบด้วยสาระใดบ้าง
รัฐศาสตร์ จิตวิทยา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา
ศาสนา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ศาสนา หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์
3. การสอนสังคมศึกษาแตกต่างจากการสอนสังคมศาสตร์อย่างไร
เน้นการสร้างนักวิชาการเพื่อพัฒนาเฉพาะด้านสังคม
เน้นการมีค่านิยมที่ดีเพื่อสร้างสังคมให้เจริญก้าวหน้าด้านวิชาการ
เน้นการดำรงตนให้เหมาะสมกับค่านิยมเพื่อความมีชีวิตที่มีความสุข
เน้นให้มีความรู้เพื่อการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมในฐานะเป็นพลเมืองดี
4. ปรัชญาสำคัญของสังคมศึกษา คืออะไร
ศึกษาหลักการเพื่อสร้างเยาวชนให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคม
พัฒนาตนเองเป็นผู้เชี่ยวชาญเพื่อใช้วิธีการทางสังคมศาสตร์แก้ไขปัญหา
เน้นการสร้างบุคลิกภาพเพื่อการปฏิบัติงานในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านสังคม
พัฒนาตนเองเพื่อความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และแก้ปัญหาด้วยเหตุผล
5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสังคมศึกษา
เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
จัดเนื้อหาสาระเน้นการบูรณาการเพื่อการปฏิบัติตนในสังคม
จัดหลักสูตรเพื่อสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเกี่ยวกับสังคม
เน้นเนื้อหาสาระที่เหมาะสมสำหรับระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
6. ข้อใดคือประเด็นสำคัญสำหรับการศึกษาภูมิศาสตร์สมัยใหม่ตาม
6. ข้อใดคือประเด็นสำคัญสำหรับการศึกษาภูมิศาสตร์สมัยใหม่ตามแนวของสมาคมนักภูมิศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา (AAG)
สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตของมนุษยชาติ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ และวิกฤตสิ่งแวดล้อม
โลกและจักรวาล ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และโลก และสารสนเทศภูมิศาสตร์
ทำเลที่ตั้ง สถานที่ การเคลื่อนที่ ภูมิภาค และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และโลก
7. สาระใดที่สอนด้านการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
ภูมิศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมืองและการดำเนินชีวิต
8. ข้อใดคือวิธีการศึกษาภูมิศาสตร์ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน
การศึกษาความสอดคล้องระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
การเปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่างของแต่ละพื้นที่
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสังคมโดยใช้เทคโนโลยีภูมิศาสตร์
การวิเคราะห์เชิงพื้นที่เกี่ยวกับมนุษย์และสรรพสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
9. ลักษณะใดไม่ใช่ลักษณะของปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ชาวดัตช์สร้างโพลเดอร์เพื่อปลูกดอกทิวลิปและเลี้ยงสัตว์
ชาวอียิปต์สร้างเขื่อนอัสวานเพื่อใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ชาวเอสกิโมสร้างอิกลูสำหรับพักอาศัยสำหรับการล่าสัตว์ในฤดูหนาว
ประชากรในเขตร้อนสวมเสื้อผ้าที่เบาบางเพื่อกันแสงแดดและระบายความร้อนจากร่างกาย
10. ข้อใดเป็นแนวทางการศึกษาภูมิศาสตร์ด้านมิติสัมพันธ์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในช่วงเวลาหนึ่งๆ
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ศึกษาพื้นที่บนโลกในบริเวณหนึ่งๆ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการศึกษาภูมิภาคอื่นๆ
อธิบายสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลกโดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประกอบ
11. ลักษณะใดเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและความร้อน
ตอบลบในเขตร้อน อินทรียวัตถุในดินสลายตัวเร็วขึ้น
ในเขตทะเลทราย มีการชะล้างแร่ธาตุในดินค่อนข้างสูง
ในเขตอบอุ่น ดินไม่ดีจึงไม่นิยมปลูกข้าวซึ่งเป็นพืชเขตร้อน
ในเขตหนาว มีอากาศเย็นมากมีอินทรียวัตถุมากแต่ไม่สลายตัว
12. ข้อใดคือขอบข่ายในการศึกษาภูมิศาสตร์ปัจจุบัน
ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ ภูมิศาสตร์ภูมิภาค และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิสัณฐานวิทยา ภูมิศาสตร์ภูมิภาค และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ดินและพืช ภูมิอากาศวิทยา ภูมิศาสตร์ภูมิภาค และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
13. ตัวการธรรมชาติใดที่ก่อให้เกิดเนินตะกอนรูปพัด (Alluvial fan) ขึ้น
ลม ฝน
คลื่น ลม
ลำธาร แม่น้ำ
แม่น้ำ กระแสน้ำ
14. บริเวณใดของประเทศไทยที่มีการคดโค้งของเปลือกโลกมากที่สุด
ภาคใต้ ภาคเหนือ
ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก
ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
15. ข้อใดเป็นอิทธิพลของลักษณะทางกายภาพที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ชาวอินเดียนิยมเผาศพริมฝั่งแม่น้ำคงคา
ชาวฝรั่งเศสนิยมปลูกองุ่นเพราะชอบดื่มไวน์
ชาวญี่ปุ่นนิยมกินปลาดิบเพราะรสชาติอร่อย
ชาวมองโกเลียเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อนในเขตทุ่งหญ้า
16. องค์ประกอบสำคัญข้อใดที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
อุณหภูมิ ลมมรสุม
อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน
กระแสน้ำ ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝน การวางตัวของเทือกเขา
17. ลักษณะของหยาดน้ำฟ้าใดที่ไม่ปรากฏในประเทศไทย
ลูกเห็บ
แม่คะนิ้ง
ฝนน้ำแข็ง
น้ำค้างแข็ง
18. เพราะเหตุใดบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำจึงเป็นแหล่งเกษตรกรรมสำคัญ
เป็นที่ตั้งเมืองหลวง
ไม่มีภัยธรรมชาติเกิดขึ้น
มีดินตะกอนที่อุดมสมบูรณ์
เป็นแหล่งอารยธรรมสำคัญในอดีต
19. ข้อใดเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประเภทให้ข้อมูล
แผนที่ ภาพจากดาวเทียม อินเทอร์เน็ต
แผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ เครื่องวัดความเร็วลม
ภาพถ่ายทางอากาศ ลูกโลก เครื่องวัดปริมาณน้ำฝน
อินเทอร์เน็ต เครื่องกำหนดพิกัดทางภูมิศาสตร์ ลูกโลก
20. บริเวณใดของโลกที่มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นแถบศูนย์สูตรตามเกณฑ์ของวลาดิเมียร์ เคิปเปิน (Vladimir Kóppen)
ที่ราบลุ่มแม่น้ำหวงเฮอ
ที่ราบลุ่มแม่น้ำแอมะซอน
พื้นที่รอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
บริเวณตอนเหนือของอาร์เจนตินา
21. ในแผนที่ส่วนใหญ่จะใช้สีใดแสดงสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ตอบลบสีเขียวแก่
สีแดงและสีดำ
สีน้ำตาลหรือส้ม
สีฟ้าหรือสีน้ำเงิน
22. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การศึกษาภาพถ่ายทางอากาศที่เห็นเส้นขอบฟ้า ควรเลือกภาพถ่ายเฉียงต่ำ
การศึกษาลักษณะทางกายภาพของจังหวัดเชียงใหม่ ควรใช้แผนที่มาตราส่วน 1:1,000,000
การศึกษาข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาและสมุทรศาสตร์ ควรใช้ข้อมูลจากดาวเทียมโนอา (NOAA)
การศึกษาลักษณะป่าไม้ในประเทศไทย ควรเลือกภาพจากดาวเทียมแลนด์แซทดีกว่าดาวเทียมธีออส
23. เพราะเหตุใดระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จึงได้รับความนิยมที่จะใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผนและการจัดการ
เป็นการจัดทำระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพโดยนักภูมิศาสตร์
เป็นระบบที่จัดทำอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการใช้เทคโนโลยีเพื่อแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่
เป็นการนำภาพจากดาวเทียมผสมผสานกับเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม
เป็นการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยใช้ในการจัดทำทุกขั้นตอนเพื่อการวางแผนในระดับประเทศ
24. เพราะเหตุใดข้อมูลจากเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศจึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
การจัดทำเป็นวิทยาศาสตร์ ได้ข่าวสารที่ถูกต้องและทันสมัย
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการถูกมากกว่าเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อื่นๆ
การอธิบายข้อมูลเชิงพื้นที่ทำได้ตลอดเวลาและราคาถูกกว่าการใช้แผนที่
การจัดทำสะดวกและรวดเร็วในการประมวลผลเมื่อเปรียบเทียบกับแผนที่
25. องค์ประกอบใดสำคัญที่สุดในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
บุคลากร
ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์
ขั้นตอนการทำงาน
26. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการรับรู้จากระยะไกล (RS)
ใช้แหล่งพลังงานจากดวงอาทิตย์อย่างเดียว
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น
ใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักการสำคัญ
ใช้ประโยชน์ในการกำหนดตำแหน่งบนโลกตลอด 24 ชั่วโมง
27. วิธีการสอนภูมิศาสตร์แบบใดที่ช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะทางสังคมและเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์โดยตรง
การสอนโดยใช้โครงงาน
การสอนแบบโยนิโสมนสิการ
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การฝึกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
28. ข้อใดเป็นหลักการสำคัญของการสอนภูมิศาสตร์ให้ผู้เรียนสนุกและมีความสุข
เรียนสิ่งใกล้ตัวซึ่งสอดคล้องกับสภาพสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
เรียนรู้จากสภาพจริง เรื่องใกล้ตัว และส่งเสริมการค้นคว้าด้วยตนเอง
เรียนภาคทฤษฎีและใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ทุกประเภทอย่างสม่ำเสมอ
สนับสนุนให้ผู้เรียนยอมรับ เห็นคุณค่าและมีทัศนคติที่ดีต่อบุคคลในสังคม
29. ข้อใดเป็นลำดับขั้นตอนของการสอนภูมิศาสตร์โดยให้ผู้เรียนศึกษานอกสถานที่
กำหนดหัวข้อ > ค้นคว้าข้อมูล > อภิปรายกลุ่มย่อย > ดำเนินการ
กำหนดหัวข้อ > สอนการจดบันทึก > สำรวจเพื่อทำแผนผัง > วิเคราะห์ข้อมูล
กำหนดประเด็น > วางแผนและการเตรียมการ > ศึกษานอกสถานที่ > ประเมินผล
ฝึกทักษะการจดบันทึก > ค้นคว้าข้อมูล > ศึกษานอกสถานที่ > ถ่ายภาพเพื่อสรุปงาน
30. เพราะเหตุใดครูจึงไม่ควรเข้มงวดกับผู้เรียนมากเกินไปจนทำให้ผู้เรียนเกิดความเครียดในการเรียน
ทำให้ผู้เรียนไม่ไว้วางใจคนอื่นและเห็นแก่ตัวมากขึ้น
ทำให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อทักษะกระบวนการทางสังคม
ทำให้ผู้เรียนไม่เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองและต่อต้านสังคม
เป็นการสกัดกั้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และการกล้าแสดงออกของผู้เรียน
1. ข้อใดคือความหมายของหลักสูตรสถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ตอบลบหลักสูตรของแต่ละสถานศึกษาที่เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้กำหนดให้
คือหลักสูตรที่จัดขึ้นเป็นไปตามความสนใจ ความต้องการของผู้ปกครอง
หลักสูตรที่มีการนำปัญหา เอกลักษณ์ชุมชนมากำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
มวลประสบการณ์ที่กำหนดไว้ในประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้
2. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์สำหรับเด็กปฐมวัย หมายถึงข้อใด
มาตรฐานที่ สมศ. กำหนดในการประเมินเด็กปฐมวัย
มาตรฐานที่กำหนดไว้ในหลักสูตรและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในแต่ละท้องที่เป็นผู้กำหนด
มาตรฐานของหลักสูตรที่ครอบคลุมคุณภาพของผู้เรียนเป็นองค์รวม
3. การพัฒนาแบบองค์รวมหมายถึงข้อใด
การพัฒนาผู้เรียนในห้องเรียนแต่ละห้องไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง
การพัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึงการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญา
การพัฒนาผู้เรียนโดยบูรณาการการเล่น การเรียน และการเลี้ยงดูไปพร้อมกัน
4. สาระการเรียนรู้ หมายถึงข้อใด
เนื้อหาสาระที่เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้
สาระที่เด็กควรเรียนรู้ และประสบการณ์สำคัญ
สาระที่เด็กควรรู้ สาระที่เด็กอยากรู้ และสาระที่เด็กรู้แล้ว
สาระการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
5. ข้อใด มิใช่ หลักการในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย
จัดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการฟัง จับต้อง สัมผัส และดมกลิ่น
จัดให้เด็กได้เล่น ได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ และได้การพักผ่อน
เตรียมเด็กให้สามารถอ่านออก เขียนได้ พร้อมเรียนในระดับประถมศึกษา
6. ข้อใดเป็นข้อความที่ ไม่ ถูกต้อง
ต้องนำสาระการเรียนรู้มาจัดในลักษณะหน่วยการสอน
สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
ประสบการณ์สำคัญเป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม
ทักษะที่เด็กต้องเรียนรู้มีหลากหลาย ให้บูรณาการการสอนไปพร้อมๆกัน
7. ข้อใด มิใช่ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
มีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
มีความสามารถใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
มีความสามารถในการคิด และแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับวัย
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
8. การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวัน ต้องครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง
มีการวางแผน เด็กมีส่วนร่วม สอดคล้องกับพัฒนาการ
พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ ด้านสังคม และสติปัญญา
การพัฒนาการคิด พัฒนาการด้านภาษา ความคิดสร้างสรรค์
การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์หลักสูตร และการประเมินพัฒนาการ
9. ข้อใดเป็นการกำหนด+++ส่วนเวลาในการพัฒนาเด็กแต่ละวันที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัย 5 ปี
กิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ วันละประมาณ 60 นาที
กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 20 นาที
กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 40 นาที
กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 60 นาที
10. คุณลักษณะตามวัย ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องมากที่สุด
เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติกับทุกคน
ครูจัดการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามวัยไปพร้อมๆกัน
ในช่วงปฐมวัยควรเป็นการพัฒนาคุณลักษณะด้านร่างกายก่อน
พัฒนาเด็กแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
11. ข้อใด คือความหมายที่ชัดเจนที่สุดของคำว่าพหุปัญญา
ความสามารถในการคิดที่หลากหลาย
ความสามารถในการคิด อ่าน และเขียน
ความสามารถของสติปัญญาทั้ง 8 ด้านของมนุษย์
กระบวนการทำงานของสมองในการวิเคราะห์ สังเคราะห์
12. ในช่วงปฐมวัยสมองส่วนใดกำลังพัฒนา
สมองส่วนหน้า
สมองส่วนกลาง
สมองส่วนหลัง
สมองซ้าย-ขวา
13. หน้าต่างแห่งการเรียนรู้มีความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กอย่างไร
การจัดห้องเรียนให้มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย
การจัดกิจกรรม ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยมีความอยากรู้ ช่างสงสัย ต้องเปิดโอกาสให้เด็กซักถาม สืบค้น ทดลอง
ออกแบบห้องเรียนให้มีหน้าต่างในระดับสายตาเด็กเพื่อการศึกษาภายนอกได้สะดวก
14. สภาวะใดที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ปล่อยให้เด็กเล่นอิสระ มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ
เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและความสามารถอย่างอิสระ
วางแผนการพัฒนา กำกับดูแลการปฏิบัติ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงานร่วมกัน
15. เพราะเหตุใดครูจึงควรคำนึงถึงธรรมชาติการทำงานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา
เพราะสมองสองซีกมีหน้าที่ที่ต่างกัน
เพราะสมองแต่ละซีกมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
เพราะสมองของเพศ หญิง ชาย มีความแตกต่างกัน
เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความสามารถ ความถนัดที่แตกต่างกัน
16. ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ขั้นตอนใดที่จะระบุนวัตกรรมที่ต้องการใช้สอดแทรกลงได้
ตอบลบขั้นวิเคราะห์สาระการเรียนรู้
ขั้นวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นเขียนแผนการจัดประสบการณ์
ขั้นกำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์
17. สิ่งใดที่ควรคำนึงถึง เมื่อจะกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดประสบการณ์
ประสบการณ์สำคัญ
พัฒนาการด้านที่ต้องการพัฒนา
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ
18. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
สติปัญญา
ครอบครัว
สิ่งแวดล้อม
โรคทางพันธุกรรม
19. ข้อใด คือประโยชน์ของการจัดทำบันทึกหลังการจัดประสบการณ์ ที่ถูกต้องที่สุด
เป็นการรายงานผลการสอนของครู
เป็นการรายงานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เป็นการบันทึกเหตุการณ์การจัดประสบการณ์
เป็นการวิเคราะห์และรายงานผลการจัดประสบการณ์
20. มุมกิจกรรมเสรีในข้อใดที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้บทบาทของบุคคล
มุมบล็อก
มุมหนังสือ
มุมบทบาทสมมติ
มุมกิจกรรมสร้างสรรค์
21. มุมประสบการณ์ใดที่สามารถปรับเปลี่ยนให้ความสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ได้น้อยที่สุด
มุมบล็อก
มุมหนังสือ
มุมธรรมชาติ
มุมบทบาทสมมติ
22. ครูคนใดใช้วิธีการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้น้อยที่สุด
ครูสมศรีออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านการเล่น
ครูสมปองให้เด็กลงมือปฏิบัติ ทดลอง และสืบค้นข้อมูล
ครูสมบัติให้เด็กทำแบบฝึก ลีลามือ และแบบฝึกเสริมทักษะ
ครูสมใจให้เด็กมีส่วนร่วมในการกำหนดหน่วยและเรื่องที่อยากเรียนรู้
23. นวัตกรรมในข้อใดที่จะนำมาช่วยพัฒนาผู้เรียนโดยตรง
ไฮ-สโคป
แฟ้มสะสมงาน
การศึกษาชั้นเรียน
การสอนภาษาธรรมชาติ
24. ข้อใดคำนึงถึงหลักการจัดสภาพแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัยมากที่สุด
ความมีอิสระในการเล่นของเด็ก
ความสะดวกของครูในการจัดชั้นเรียน
ความสะอาด สะดวก และปลอดภัย
ความสวยงาม ความคงทนของวัสดุที่นำมาใช้ในการจัด
25. ครูปฐมวัยในข้อใดจัดมุมบล็อกได้ถูกต้องมากที่สุด
ครูติ๊ก จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ห้องน้ำ
ครูต้อย จัดมุมบล๊อกห่างจากมุมหนังสือ
ครูตู่ จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ผู้เรียนมากที่สุด
ครูต๋อย จัดมุมบล็อกไว้หลังห้องไกลจากสายตายครู
26. การจัดมุมในกิจกรรมเสรีในข้อใดสอดคล้องกับการเล่นบทบาทสมมติ
มุมร้านค้า มุมหมอ มุมบ้าน
มุมหมอ มุมธรรมชาติ มุมร้านค้า
มุมบ้าน มุมบล็อก มุมธรรมชาติ
มุมหมอ มุมหนังสือ มุมบล๊อก
27. พฤติกรรมของครูคนใด จัดเป็นการพัฒนาสื่อได้อย่างเหมาะสม
ครูเปิ้ล รักษาความสะอาดและซ่อมแซมสื่อ
ครูปุ๋ย ซ่อมแซม และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
ครูป้อม ปรับปรุง และรักษาความสะอาดของสื่อ
ครูปุ้ม รักษาความสะอาด และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
28. ข้อใดเป็นวิธีการประสานความร่วมมือแบบสองทางระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชนได้ดีที่สุด
การเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นรายบุคคล
การส่งจดหมายถึงผู้ปกครองและชุมชน
การเชิญชวน ผู้ปกครองร่วมกิจกรรมและรับฟังข้อเสนอแนะ
การเชิญ หมอ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ร่วมแก้ปัญหาเด็ก
29. ปรัชญาของการเสริมสร้างพลังความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ความเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมาย
ความรับผิดชอบของสถานศึกษาตามภารกิจที่กำหนด
ความสำเร็จตามจุดประสงค์ของการจัดประสบการณ์
ความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
30. ข้อใดลำดับเหตุการณ์ในการเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ เหมาะสมที่สุด
สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม
สร้างความตระหนัก สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นการรวมกลุ่ม
กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างความตระหนัก สร้างแรงบันดาลใจ สร้างการรับรู้
สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างการรับรู้
สุขศึกษา
ตอบลบ1 ข โครงสร้างรายวิชา
2 ก จัดทำโครงสร้างรายวิชา
3 ง ระบุมาตรฐาน
4 ข มาตรฐาน/ตัวชี้วัด-ออกแบบ
5 ก ชื่อหน่วย.../ม/ต/ส/ว/น
6 ข การเครื่อนไหวประกอบดนตรี
7 ก แผนที่สุขศึกษา
8 ค ขั้นชี้แจงขอบข่าย
9 ก ด้านพฤติกรรมมนุษย์
10 ง พฤติกรรมสุขภาพ
11 ค ความคิดสร้างสรรค์
12 ข คิดสังเคราะห์
13 ก คิดวิเคราะห์
14 ข เจตคติ ทักษะ ความรู้
15 ข การสอนสุขไม่จำเป็น
16 ค พัฒนาการทาง................................ธรรม
17 ค ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน
18 ง ถูกทุกข้อ
19 ก ระดับประถมศึกษา
20 ค 80ชม.2หน่วยกิต
21 ข ผู้วัด สิ่งที่ต้องวัด วิธีการวัด
22 ค วิเคราะห์สาระ
23 ก วิเคราะห์ผู้เรีนย
24 ง กิจกรรมการเรียนรู้
25 ง ความคิดรวบยอด
27 ง มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
28 ข มีความยืดหยุ่น
29 ก ทำความเข้าใจ
30 ง ใช้เป็น
หมายเหตุ...ได้23 คะแนน
สอบได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. ข้อใดคือความหมายของหลักสูตรสถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ก . หลักสูตรของแต่ละสถานศึกษาที่เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้กำหนดให้
ข. คือหลักสูตรที่จัดขึ้นเป็นไปตามความสนใจ ความต้องการของผู้ปกครอง
ค. หลักสูตรที่มีการนำปัญหา เอกลักษณ์ชุมชนมากำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
ง. มวลประสบการณ์ที่กำหนดไว้ในประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้
2. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์สำหรับเด็กปฐมวัย หมายถึงข้อใด
ก. มาตรฐานที่ สมศ. กำหนดในการประเมินเด็กปฐมวัย
ข. มาตรฐานที่กำหนดไว้ในหลักสูตรและสาระการเรียนรู้
ค. มาตรฐานที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในแต่ละท้องที่เป็นผู้กำหนด
ง. มาตรฐานของหลักสูตรที่ครอบคลุมคุณภาพของผู้เรียนเป็นองค์รวม
3. การพัฒนาแบบองค์รวมหมายถึงข้อใด
ก. การพัฒนาผู้เรียนในห้องเรียนแต่ละห้องไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง
ข. การพัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึงการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ค. การพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญา
ง. การพัฒนาผู้เรียนโดยบูรณาการการเล่น การเรียน และการเลี้ยงดูไปพร้อมกัน
4. สาระการเรียนรู้ หมายถึงข้อใด
ก. เนื้อหาสาระที่เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้
ข. สาระที่เด็กควรเรียนรู้ และประสบการณ์สำคัญ
ค. สาระที่เด็กควรรู้ สาระที่เด็กอยากรู้ และสาระที่เด็กรู้แล้ว
ง. สาระการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
5. ข้อใด มิใช่ หลักการในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย
ก. จัดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ข. ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการฟัง จับต้อง สัมผัส และดมกลิ่น
ค. จัดให้เด็กได้เล่น ได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ และได้การพักผ่อน
ง. เตรียมเด็กให้สามารถอ่านออก เขียนได้ พร้อมเรียนในระดับประถมศึกษา
6. ข้อใดเป็นข้อความที่ ไม่ ถูกต้อง
ก. ต้องนำสาระการเรียนรู้มาจัดในลักษณะหน่วยการสอน
ข. สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
ค. ประสบการณ์สำคัญเป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม
ง. ทักษะที่เด็กต้องเรียนรู้มีหลากหลาย ให้บูรณาการการสอนไปพร้อมๆกัน
7. ข้อใด มิใช่ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ก. มีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
ข. มีความสามารถใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ค. มีความสามารถในการคิด และแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับวัย
ง. อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
8. การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวัน ต้องครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง
ก. มีการวางแผน เด็กมีส่วนร่วม สอดคล้องกับพัฒนาการ
ข. พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ ด้านสังคม และสติปัญญา
ค. การพัฒนาการคิด พัฒนาการด้านภาษา ความคิดสร้างสรรค์
ง. การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์หลักสูตร และการประเมินพัฒนาการ
9. ข้อใดเป็นการกำหนด+++ส่วนเวลาในการพัฒนาเด็กแต่ละวันที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัย 5 ปี
ก. กิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ วันละประมาณ 60 นาที
ข. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 20 นาที
ค. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 40 นาที
ง. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 60 นาที
10. คุณลักษณะตามวัย ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องมากที่สุด
ก. เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติกับทุกคน
ข. ครูจัดการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามวัยไปพร้อมๆกัน
ค. ในช่วงปฐมวัยควรเป็นการพัฒนาคุณลักษณะด้านร่างกายก่อน
ง. พัฒนาเด็กแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
11. ข้อใด คือความหมายที่ชัดเจนที่สุดของคำว่าพหุปัญญา
ตอบลบก. ความสามารถในการคิดที่หลากหลาย ข. ความสามารถในการคิด อ่าน และเขียน
ค. ความสามารถของสติปัญญาทั้ง 8 ด้านของมนุ
ง. กระบวนการทำงานของสมองในการวิเคราะห์ สังเคราะห์
12. ในช่วงปฐมวัยสมองส่วนใดกำลังพัฒนา
ก. สมองส่วนหน้า ข. สมองส่วนกลาง
ค. สมองส่วนหลัง ง.สมองซ้าย-ขวา
13. หน้าต่างแห่งการเรียนรู้มีความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กอย่างไร
ก. การจัดห้องเรียนให้มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย
ข. การจัดกิจกรรม ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
ค. เด็กปฐมวัยมีความอยากรู้ ช่างสงสัย ต้องเปิดโอกาสให้เด็กซักถาม สืบค้น ทดลอง
ง. ออกแบบห้องเรียนให้มีหน้าต่างในระดับสายตาเด็กเพื่อการศึกษาภายนอกได้สะดวก
14. สภาวะใดที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ก. ปล่อยให้เด็กเล่นอิสระ มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ
ข. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและความสามารถอย่างอิสระ
ค. วางแผนการพัฒนา กำกับดูแลการปฏิบัติ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ง. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงานร่วมกัน
15. เพราะเหตุใดครูจึงควรคำนึงถึงธรรมชาติการทำงานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา
ก. เพราะสมองสองซีกมีหน้าที่ที่ต่างกัน
ข. เพราะสมองแต่ละซีกมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
ค. เพราะสมองของเพศ หญิง ชาย มีความแตกต่างกัน
ง. เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความสามารถ ความถนัดที่แตกต่างกัน
16. ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ขั้นตอนใดที่จะระบุนวัตกรรมที่ต้องการใช้สอดแทรกลงได้
ก. ขั้นวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ ข. ขั้นวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา
ค. ขั้นเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ง. ขั้นกำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์
17. สิ่งใดที่ควรคำนึงถึง เมื่อจะกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดประสบการณ์
ก. ประสบการณ์สำคัญ ข. พัฒนาการด้านที่ต้องการพัฒนา
ค. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ง. ความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ
18. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
ก. สติปัญญา ข.ครอบครัว ค.สิ่งแวดล้อม ง.โรคทางพันธุกรรม
19. ข้อใด คือประโยชน์ของการจัดทำบันทึกหลังการจัดประสบการณ์ ที่ถูกต้องที่สุด
ก. เป็นการรายงานผลการสอนของครู ข. เป็นการรายงานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ค. เป็นการบันทึกเหตุการณ์การจัดประสบการ
ง. เป็นการวิเคราะห์และรายงานผลการจัดประสบการณ์
20. มุมกิจกรรมเสรีในข้อใดที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้บทบาทของบุคคล
ก. มุมบล็อก ข. มุมหนังสือ ค. มุมบทบาทสมมติ ง. มุมกิจกรรมสร้างสรรค์
21. มุมประสบการณ์ใดที่สามารถปรับเปลี่ยนให้ความสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ได้น้อยที่สุด
ตอบลบ ก. มุมบล็อก ข. มุมหนังสือ ค. มุมธรรมชาติ ง. มุมบทบาทสมมติ
22. ครูคนใดใช้วิธีการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้น้อยที่สุด
ก.ครูสมศรีออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านการเล่น ข. ครูสมปองให้เด็กลงมือปฏิบัติ ทดลอง และสืบค้นข้อมูล
ค.ครูสมบัติให้เด็กทำแบบฝึก ลีลามือ และแบบฝึกเสริมทักษะ
ง. ครูสมใจให้เด็กมีส่วนร่วมในการกำหนดหน่วยและเรื่องที่อยากเรียนรู้
23. นวัตกรรมในข้อใดที่จะนำมาช่วยพัฒนาผู้เรียนโดยตรง
ก. ไฮ-สโคป ข. แฟ้มสะสมงาน ค. การศึกษาชั้นเรียน ง. การสอนภาษาธรรมชาติ
24. ข้อใดคำนึงถึงหลักการจัดสภาพแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัยมากที่สุด
ก. ความมีอิสระในการเล่นของเด็ก ข. ความสะดวกของครูในการจัดชั้นเรียน
ค. ความสะอาด สะดวก และปลอดภัย ง. ความสวยงาม ความคงทนของวัสดุที่นำมาใช้ในการจัด
25. ครูปฐมวัยในข้อใดจัดมุมบล็อกได้ถูกต้องมากที่สุด
ก. ครูติ๊ก จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ห้องน้ำ ข. ครูต้อย จัดมุมบล็อกห่างจากมุมหนังสือ
ค. ครูตู่ จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ผู้เรียนมากที่สุด ง. ครูต๋อย จัดมุมบล็อกไว้หลังห้องไกลจากสายตายครู
26. การจัดมุมในกิจกรรมเสรีในข้อใดสอดคล้องกับการเล่นบทบาทสมมติ
ก. มุมร้านค้า มุมหมอ มุมบ้าน ข. มุมหมอ มุมธรรมชาติ มุมร้านค้า
ค. มุมบ้าน มุมบล็อก มุมธรรมชาติ ง. มุมหมอ มุมหนังสือ มุมบล๊อก
27. พฤติกรรมของครูคนใด จัดเป็นการพัฒนาสื่อได้อย่างเหมาะสม
ก. ครูเปิ้ล รักษาความสะอาดและซ่อมแซมสื่อ ข. ครูปุ๋ย ซ่อมแซม และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
ข.ครูป้อม ปรับปรุง และรักษาความสะอาดของสื่อ ค. ครูปุ้ม รักษาความสะอาด และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
28. ข้อใดเป็นวิธีการประสานความร่วมมือแบบสองทางระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชนได้ดีที่สุด
ก. การเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นรายบุคคล
ข. การส่งจดหมายถึงผู้ปกครองและชุมชน
ค. การเชิญชวน ผู้ปกครองร่วมกิจกรรมและรับฟังข้อเสนอแนะ
ง. การเชิญ หมอ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ร่วมแก้ปัญหาเด็ก
29. ปรัชญาของการเสริมสร้างพลังความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ก. ความเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมาย
ข. ความรับผิดชอบของสถานศึกษาตามภารกิจที่กำหนด
ค. ความสำเร็จตามจุดประสงค์ของการจัดประสบการณ์
ง. ความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
30. ข้อใดลำดับเหตุการณ์ในการเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ เหมาะสมที่สุด
ก. สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม
ข. สร้างความตระหนัก สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นการรวมกลุ่ม
ค. กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างความตระหนัก สร้างแรงบันดาลใจ สร้างการรับรู้
ง. สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างการรับรู้
ข้อสอบ utq 210 สังคมเศรษฐกิจพอเพียง
ตอบลบ1. นักเรียนในระดับใดต้องเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลางที่กำหนดว่า ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ เช่น GDP, GNP รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3
มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
2. สาเหตุสำคัญในข้อใดที่ทำให้เกิดการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
ความขาดแคลนของทรัพยากร
ทรัพยากรมีจำนวนไม่จำกัด
ความต้องการของมนุษย์มีจำกัด
ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการ
3. ทุกครั้งที่เราตัดสินใจเลือก (choice) จะเกิดอะไร
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ค่าเสียโอกาส
ผลกำไร
ขาดทุน
4. ที่กล่าวว่า “โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี” ตรงกับความหมายในข้อใด
ความคุ้มค่าและสูญเสียน้อยที่สุด
เลือกตามแรงจูงใจเพื่อผลประโยชน์ที่มากกว่า
ไม่มีสิ่งใด “ได้” โดยไม่มี “เสีย”
การผลิตสินค้าผู้ผลิตต้องคำนึงถึงต้นทุนหน่วยสุดท้าย
5. คุณครูสอนเศรษฐศาสตร์มหภาค คุณครูต้องสอนเรื่องใด
การกำหนดราคา
การผลิตของเอกชน
พฤติกรรมของผู้บริโภค
เงินเฟ้อและเงินฝืด
6. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์มีกี่มาตรฐาน
2 มาตรฐาน
3 มาตรฐาน
4 มาตรฐาน
5 มาตรฐาน
7. เรื่องใดที่ไม่ได้กำหนดไว้ในมาตรฐาน ส3.1 สาระเศรษฐศาสตร์
เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ
เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เข้าใจและสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
8. ตามหลักสูตรแกนกลาง ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์ในข้อใดอยู่ในชั้นประถมศึกษา
อธิบายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์
อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออม
บันทึกรายรับ – รายจ่ายของตนเอง
9. ตามหลักสูตรแกนกลาง ตัวชี้วัดที่กำหนดให้อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง อยู่ในระดับชั้นใด
ประถมศึกษาปีที่ 4
ประถมศึกษาปีที่ 6
ประถมศึกษาปีที่ 1
ประถมศึกษาปีที่ 3
10. นักเรียนในระดับชั้นใดต้องเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลางที่กำหนดว่า การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการ
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3
มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
11. เป้าหมายของเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
ตอบลบเกิดความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน
เกิดความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
เกิดความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านสิ่งแวดล้อม
เกิดความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
12. แนวคิดหลักของเศรษฐกิจพอเพียง “ความพอเพียง” ประกอบด้วยคุณลักษณะใดบ้าง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวพร้อมๆ กัน
ความไม่ประมาทและความรอบคอบ
ความมีเหตุผล ซื่อสัตย์สุจริต และใช้ปัญญาในการดำเนินชีวิต
13. การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ต้องมีเงื่อนไขพื้นฐานใด
พอประมาณ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ความรู้คู่คุณธรรม
พอประมาณและมีเหตุผล
14. สื่อการเรียนรู้ทำให้นักเรียนเกิดการพัฒนาด้านใดบ้าง
ความรู้และทักษาด้านต่างๆ
คุณธรรมและความรู้ด้านต่างๆ
ทักษะและคุณธรรม จริยธรรม
ความรู้ ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรม
15. ข้อใดจัดเป็นสื่อวัสดุ
การให้นักเรียนทำแบบจำลองเกษตรทฤษฎีใหม่
การให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติ การแลกเปลี่ยนในชุมชน
การจัดนิทรรศการเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
การใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล
16. สื่อการเรียนรู้ในรูปของกิจกรรมในข้อใดเหมาะสมกับการเรียนรู้ในระดับประถมศึกษาน้อยที่สุด
การทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย
การฝากเงิน / ถอนเงิน
สำรวจตลาดในชุมชน
สัมภาษณ์บุคคลเกี่ยวกับการบริหารจัดการเงินออม และการลงทุนภาคครัวเรือน
17. การไปทัศนศึกษาแหล่งการเรียนรู้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย เหมาะสมกับการเรียนรู้ในระดับชั้นใดมากที่สุด
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3
มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
18. เพราะเหตุใดครูจึงต้องใช้สื่อการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานเพียงชนิดเดียวสามารถตอบสนองการเรียนรู้ได้ครบถ้วนทุกบทเรียน
ไม่มีสื่อชนิดใดที่สามารถตอบสนองการจัดการเรียนรู้ได้ครบถ้วนทุกบทเรียน
เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน
เพื่อให้มีความสัมพันธ์กับมาตรฐานการเรียนรู้
19. เมื่อท่านต้องการรู้ความหมายของคำว่า ราคาสมดุล หรือ equilibrium price หรือคำศัพท์เศรษฐศาสตร์อื่นๆ จากสื่อสิ่งพิมพ์ ท่านจะค้นคว้าได้จากสื่อการเรียนรู้ในข้อใดจึงจะได้ความหมายและศัพท์บัญญัติ ที่ถูกต้อง
พจนานุกรมเศรษฐศาสตร์
ศัพท์เศรษฐศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พจนานุกรมเศรษฐศาสตร์ และศัพท์เศรษฐศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
หนังสือเศรษฐศาสตร์ทั่วไป
20. ข้อใดเป็นเป้าหมายสำคัญของการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
เพื่อเปลี่ยนกระบวนการคิดของผู้เรียน
เพื่อประหยัดทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์
เพื่อปรับปรุงสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบททางสังคม
เพื่อปรับปรุงพฤติกรรมผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
21. การจัดการเรียนรู้ ผู้สอนควรยึดสิ่งใดเป็นสำคัญ
ตอบลบผู้เรียน
หลักสูตร
สาระการเรียนรู้
บริบททางสังคม
22. “ในสภาพปัจจุบัน วัยรุ่นส่วนใหญ่มีการบริโภคสินค้าอย่างฟุ่มเฟือย ขาดการยั้งคิด นิยมสินค้าต่างประเทศ มีพฤติกรรมการบริโภคนิยมอย่างขาดเหตุผล” ในฐานะที่ท่านเป็นครูสังคมศึกษาฯ ท่านมีการเลือกใช้นวัตกรรมการสอนใดเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
การสอนแบบบรรยาย
การสอนแบบโครงการ
การสอนแบบทดลอง
การสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
23. “ในปัจจุบันมีบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่เข้ามาดำเนินธุรกิจร้านค้าแบบครบวงจร ประสบความสำเร็จ และส่งผลกระทบต่อระบบการค้าปลีกของคนไทย”ท่านคิดว่าวิธีการสอนใดมีความเหมาะ สมกับสถานการณ์ดังกล่าว
วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่ม
วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง
วิธีการสอนโดยใช้ศูนย์การเรียน
24. ข้อใดเป็นสิ่งเร้าที่เหมาะสมในการสอนเพื่อการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ข่าว / สถานการณ์จริง
ภาพยนต์ / ข้อความการโฆษณาสินค้า
ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ / วารสาร
ถูกทุกข้อ
25. ข้อใดคือผลของการใช้นวัตกรรมการสอนที่ผู้สอนมีความคาดหวังมากที่สุด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้น
การพัฒนาด้านทักษะนิสัยสูงขึ้น
ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและวิชาที่เรียน
คุณลักษณะของผู้เรียนเปลี่ยนแปลงไปตามคาดหวัง
26. ข้อใดกล่าวถึงแนวคิด และหลักการการวัดและประเมินผลได้เหมาะสมที่สุด
การประเมินผลก่อนเรียนเพื่อนำข้อมูลไปออกแบบระบบการเรียนรู้
ประเมอนผลหลังเรียนเพื่อประเมินพัฒนาการทางการเรียนของผู้เรียน
การวัดและประเมินผลและกระบวนการเรียนการสอนควรดำเนินพร้อมกันไป
การประเมินผลการเรียนเป็นสิ่งที่ยืนยันผลสำเร็จของผู้เรียนและผู้สอน
27. เป้าหมายสุดท้ายของการวัดและประเมินผลคือสิ่งใด
เพื่อประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตร
เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
เพื่อปรับปรุงระบบการเรียนการสอน
เพื่อปรับปรุงสาระการเรียนรู้
28. ข้อใดกล่าวถึงการวัดและประเมินผลได้อย่างถูกต้อง
ควรมุ่งเน้นการพัฒนาพฤติกรรมด้านพุทธนิสัยเป็นสำคัญ
การมุ่งพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมมากกว่าด้านความรู้
ควรวัดและประเมินพฤติกรรมสังเกตได้มากกว่าพฤติกรรมอื่น
การพัฒนาพฤติกรรมทั้ง 3 ให้มีความสมดุลตามความคาดหวังของหลักสูตร
29. เครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการวัดพฤติกรรมด้านทักษะการคิดควรเป็นเครื่องมือชนิดใด
แบบทดสอบ
แบบสังเกต
แบบสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
30. คุณสมบัติใดไม่จำเป็นสำหรับเครื่องมือประเภทแบบทดสอบ
การให้คะแนนประเภท ผิดได้ 0 ถูกได้ 1
มีความเป็นปรนัยสูง
สามารถจำแนกกลุ่มเก่งกลุ่มอ่อนได้
มีระดับความยาก-ง่ายในระดับปานกลาง
ข้อสอบUTQ 208 ได้ 24คะแนน
ตอบลบ1ก.เป็นพลเมืองดี
2.ค. ศาสนา หน้าที่
3.ง. เน้นให้มีความรู้
4.ง. พัฒนาตนเองเพื่อ
5.ค. จัดหลักสูตร
6.ง. ทำเล ที่ตั้ง
7. ค. เศรษฐ
8. ง. การวิเคราะห์
9. ง. ประชากร
10. ง อธิบายสิ่งต่างๆ
11. ก. ในเขตร้อน
12. ก. กายภาพ มนุษย์
13. ง. แม่น้ำ กระแสน้ำ
14 ง. ตะวันตก ตะวันออกเฉียงเหนือ
15 ง. ชาวมองโก
16 ข. อุณหภูมิ
17 ค. ฝนน้ำแข็ง
18 ค. มีดินตะกอน
19 ก. แผนที ดาวเทียม
20 ข. อะเมซอน
21 ข. เเดงดำ
22 ข. ลักษณะกายภาพ
23 ก. เป็นการจัดทำ
24 ก. การจัดทำเป็นวิทยาศาสตร์
25 ก. บุคลากร
26 ค. ใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็ก
27 ก. การสอนโดยโครงงาน
28 ก. เรียนสิ่งใกล้ตัว
29 ค. กำหนด---------ประเมิน
30 ง. เป็นการสกัด
UTQ 216 ได้ 23คะแนน
ตอบลบ1. ค. ครูวิท
2. ก. สื่อที่นำ
3. ข แหล่งประกอบการ
4. ง. สื่อที่
5. ข. ตรงตามวัตถุ
6. ง. ผุ้เรียนเรียนรู้แล้ว
7. ข. การสร้างและพัฒนาสื่อ
8. ข. การเรียนรู้
9. ก. ด้านความรู้
10. ง. ใช้ได้ทุกข้อ
11. ง.วัดและประเมิณ
12. ง. ครูจัดกระบวน
13. ข . ประเมิณผล
14. ง. มาตรฐาน
15. ค. ครูสมใจ
16. ง. ป4
17. ง. ประสิทธิ
18. ก. กำหนดปัยหา
19. ง. คอมฯ
20. ง. ปรีชา
21. ค. ลดของเสีย
22. ค. ทำงาน
23. ก. การดำรง
24 ค. การออกแบบ
25 ก. การวิเคราะ
26 ก. การดำรงชีวิต
27 ง. กำหนดปัญญหา
28 ข. การออกแบบ
29 ง. เทคโนโลยี
30 ง. ความรวดเร็ว
31. ง. เพื่อให้ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
UTQ-210 สังคม (เน้นเศรษฐกิจพอเพียง) ได้ 24 เต็ม 30
ตอบลบ1. ง. ม.4-ม.6
2. ก. ความขาดแคลนของทรัพยากร
3. ข.ค่าเสียโอกาส
4. ค. ไม่มีสิ่งใด "ได้" โดยไม่มี "เสีย"
5. ง. เงินเฟ้อและเงินฟืด
6. ก. 2 มาตรฐาน
7. ค. เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
8. ง.บันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเอง
9. ก. ประถมศึกษาปีที่ 4
10. ง. มัธยม 4-6
11. ก. เกิดความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
12. ข. ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมึภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวพร้อม ๆ กัน
13. ค. ความรู้คู่คุณธรรม
14. ง. ความรู้ ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรม
15. ก. การให้นักเรียนทำแบบจำลองเกษตรทฤษฎีใหม่
16. ง. สัมภาษณ์บุคคลเกี่ยวกับการบริหารจัดการเงินออม
17. ค. มัธยมปีที่ 1-3
18. ค. เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน
19. ก. พจนานุกรมเศรษฐศาสตร์
20. ง. เพื่อปรับปรุงพฤติกรรมผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
21. ก. ผู้เรียน
22. ง. การสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
23. ค. วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง
24. ง. ถูกทุกข้อ
25. ง. คุณลักษณะของผู้เรียนเปลี่ยนแปลงไปตามคาดหวัง
26. ค. การวัดและประเมินผลและกระบวนการเรียนการสอนควรดำเนินพร้อมกันไป
27. ข. เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
28. ง. การพัฒนาพฤติกรรมทั้ง 3 ให้มีความสมดุลฯ
29. ก. แบบทดสอบ
30. ค. สามารถจำแนกกลุ่มเก่งกลุ่มอ่อนได้
หลักสูตร UTQ217 ได้ 22 คะแนน
ตอบลบ1. I’m afraid I agree a lot.
2. Let’s go to a discotheque, shall we?
3. That’s really very kind of you but I have to go for a job interview.
4. It’s a thoughtful suggestion. (น่าจะเป็นข้อนี้ที่ถูกหรือเปล่า)
I’ll think about it. (แต่เวลาทำเลือกข้อนี้)
5. I’m glad you could come.
6. What will you have
7. I’m on diet
8. I appreciate it
9. the dinosaurs died because of the cold weather.
10. inability to make a decision
11. a bird
12. charge an official with having committed a crime
13. Smoking and drinking endanger pregnancy
14. the medicine could cause some people to feel nervous
15. take less than two tablets before going to bed
16. out
17. At
18. tough
19. banged
20. clear
21. an exact one
22. on
23. but
24. assured
25. had obtained
26. haven’t seen
27. leaves
28. was cooking
29. any other
30. By watching
UTQ-217 ทำได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. I couldn’t agree more.
2. Let’s go to a discotheque, shall we ?
3. That’s really very kind… interview.
4. I’ll think about it.
5. I’m glad you could come.
6. What will you have ?
7. I’m on diet.
8. I don’t believe it.
9. the dinosaurs died because of the cold weather.
10. natural tendency
11. a bird
12. accuse of common criminal (ข้อนี้โคตรยาก.. เดาครับ--อยากเห็นหน้าคนออกข้อสอบข้อนี้มาก)
13. Smoking and drinking endanger pregnancy
14. the medicine could cause some people to feel nervous
15. take less than two tablets before going to bed
16. out
17. On
18. inedible
19. banged
20. clear
21. an exact one
22. according to
23. but
24. assured
25. had obtained
26. haven’t seen
27. leaves
28. was cooking
29. any other
30. spin
การจัดการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ UTQ-222
ตอบลบ1. ห้องสมุดโรงเรียน
2. Information Society
3. เป็นแม่ข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงภายในประเทศ
4. ห้องสุมดประชาชน
5. วิสัยทัศน์ของผู้บริหาร
6. แผนงาน/โครงการ
7. เป้าหมาย
8. นโยบายและเป้าหมายของสถาบัน
9. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและ........
10. blog
11. หนังสืออ้างอิง
12. เรียงตามลำดับตัวอักษร.....
13. ฐานข้อมูล
14. วารสาร MBA
15. เนชั่นสุดสัปดาห์
16. เครื่องหมายวงเล็บ
17. หน้าปกใน
18. เบ็ดเตล็ด
19. เลขหมู่หนังสือ อักษรย่อ.........
20. ใช้ค้นหาทรัพยากร.........
21. บัตรแจ้งหมู่หนังสือ
22. ระดู
23. หนังสือที่ผู้สอนกำหนด.....
24. เพื่อกระตุ้นให้เกิดควาสนใจในการอ่าน....
25. กิจกรรมที่เร้าโสตประสาท..........
26. หยุดทุกอย่างเพื่ออ่าน
27. Internet
28. ERIC
29. บริษัทให้บริการอินเตอร์เน็ต
30. เพื่อพัฒนาห้องสมุดให้ได้มาตรฐาน
สอบ postest ได้ 27/30
โครงงานประวัติศาสตร์ utq-209 ได้ 26/30
ตอบลบ1. การไต่สวนให้รู้ถึง......
2. ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอย....
3. รู้รากเหง้าของตนเอง
4. ช่วยในการตัดสินใจ....
5. มาตรฐานที่ ส 4.3
6. วิธีการทางประวัติ
7. มาตรฐาน ส 4.1
8. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
9. โครงงานประวัติศาสตร์คือากรใช้วิธีการ....
10. การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
11. การใช้ขั้นตอนของวิธีการทาง...
12. ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน
13. ความคิดเป็นผลที่เกิดจาก....
14. การคิดอย่างใคร่ครวญ
15. การระบุลักษณะข้อมูล
16. การเขียนภาพ การลำดับเหตุการณ์
17. แบบแผนผัง...
18. แผนผังรูปวังกลม
19. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
20. การประเมินคุณค่า
21. การกำหนดหัวเรื่อง
22. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน การวิเคราะห์
23. ขั้นสร้างชิ้นงาน
24. กำหนดประเด็นที่จะไปศึกษา
25. มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
26. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
27. การทำโครงงานสืบค้น
28. วิเคราะห์คำสำคัญในมาตรฐาน
29. เนื้อหาสาระตามตัวชี้วัด
30. รายงานหน้าชั้นเรียน
utq 202 ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาแล้วผ่าน 24 คะแนน
ตอบลบ1."....ภาษาไทยเป็นเครื่องมือ...."
- วิสัยทัศน์การสอนภาษาไทย
2. การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา...
- มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
3. หลักการของการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญที่สุดคือ
- เน้นการคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
4. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
- การจัดทำแผนการเรียนรู้
5. ข้อใดมิใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง...
- ความสามารถในการทำงาน การใฝ่เรียนรู้
6. ความสามารถใช้กระบวนการเรียนรู้ต่างๆ...
- ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี พัฒนาสมรรถนะได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
7. แนวคิดสำคัญที่สุดซึ่งเป็นองค์ประกอบ...
- ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน
8. ข้อใดไม่จำเป็นต้องระบุในหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วย
- การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่น กิจกรรมเสนอแนะ
9. "การสอนแบบมุ่งประสบการณ์"หมายถึง...
- นักเรียนเล่าเรื่อง ลำดับเรื่อง สนทนา อภิปราย อ่านเรื่องและแสดงบทบาทสมมุติ
10. ในการสอนแบบ"การเรียนรู้แบบร่วมมือ"บทบาทสำคัญที่สุดของนักเรียนคืออะไร
- การร่วมกันรับผิดชอบต่อผลงานและความสำเร็จของกลุ่ม
11. ข้อใดเป็นกระบวนการขั้นที่ 3 ของกระบวนการสืบสวนสอบสวน
- ทดสอบสมมุติฐาน
12. ข้อควรคำนึงในการจัดทำแผนการเรียนรู้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การกำหนดสื่อการเรียนการสอน ควรกำหนดให้มากเพื่อสะดวกแก่การเลือกใช้
13. ข้อใดเป็นประโยชน์สำคัญที่สุดของการใช้กระบวนการสอนด้วยแผนภาพความคิด
- นักเรียนสามารถจัดระบบความคิดของตนเองได้
14. กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยข้อใดทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอน
- ทุกข้อสามารถทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอนได้หากเลือกใช้ได้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
15. บุคคลในข้อใดประสบความสำเร็จในการสอน
- ครูวินัยเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสะท้อนผลทุกครั้งหลังเสร็จสิ้นการสอน
16. การสอนให้นักเรียนผันวรรณยุกต์ได้อย่างถูกต้องครูควรสอนพื้นฐานความรู้เนื้อหาใดให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น
ตอบลบ- ทั้งข้อ ก. และ ข.
17. ในการสอนเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางภาษาครูควรคำนึงถึงจุดประสงค์ใดเป็นสำคัญ
- การสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติจริง
18. ข้อใดเป็นพื้นฐานสำคัญของหลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- การเรียนรู้กระบวนการและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
19. เมื่อท่านต้องสอนวรรณคดีหรือวรรณกรรม...
- สอนให้นักเรียนเห็นคุณค่าทางภาษา แนวคิด ทางสังคม และนำประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
20. การวัดผลและประเมินผลในวิชาสอนภาษาไทยแต่ละครั้งต้องครอบคลุมด้านใดบ้าง
- ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะ
21. กระบวนการตรวจสอบผู้เรียนว่ามีพัฒนาการตรงตามจุดประสงค์หรือไม่...
- ใช้ได้ทุกข้อ
22. วิธีการที่สามารถค้นหาความสามารถและความก้าวหน้า...
- วัดและประเมินผลตามสภาพจริง
23. แหล่งเรียนรู้ข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
- อุทยานแห่งชาติ
24. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ พิจารณาถึงประโยชน์มากกว่าข้อจำกัดด้านค่าใช้จ่าย
25. การประเมินด้วยการกำหนดประเด็นการประเมินที่แจกแจง (Rubric)ไม่...
- ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้หรือไม่
26. มีผู้กล่าวว่า "การท่องอาขยานยังถือว่ามีความสำคัญ" ข้อใดน่าจะเป็นเหตุผลสนับสนุนที่ดีที่สุด
- ทำให้นักเรียนซึมซับความละเอียดอ่อนของการใช้ถ้อยคำของกวี
27. ครูกำหนดให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้และค้นคว้าจาก...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
28. ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างประโยคความรวมได้ ผู้สอนใช้...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
29. ผลการเรียนรู้ที่สำคัญหลังจากทำโครงงานเสร็จ 1 โครงงานตรงกับกรอบความคิดข้อใด
- ความเข้าใจคงทน
30. ข้อใดเน้นการเรียนรู้โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองน้อยที่สุด
- นักเรียนจดงานตามที่ครูเขียนบนกระดานอย่างครบถ้วน
โครงงานประวัติศาสตร์ utq-209 ได้ 26/30
ตอบลบ1. การไต่สวนให้รู้ถึง......
2. ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอย....
3. รู้รากเหง้าของตนเอง
4. ช่วยในการตัดสินใจ....
5. มาตรฐานที่ ส 4.3
6. วิธีการทางประวัติ
7. มาตรฐาน ส 4.1
8. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
9. โครงงานประวัติศาสตร์คือากรใช้วิธีการ....
10. การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
11. การใช้ขั้นตอนของวิธีการทาง...
12. ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน
13. ความคิดเป็นผลที่เกิดจาก....
14. การคิดอย่างใคร่ครวญ
15. การระบุลักษณะข้อมูล
16. การเขียนภาพ การลำดับเหตุการณ์
17. แบบแผนผัง...
18. แผนผังรูปวังกลม
19. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
20. การประเมินคุณค่า
21. การกำหนดหัวเรื่อง
22. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน การวิเคราะห์
23. ขั้นสร้างชิ้นงาน
24. กำหนดประเด็นที่จะไปศึกษา
25. มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
26. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
27. การทำโครงงานสืบค้น
28. วิเคราะห์คำสำคัญในมาตรฐาน
29. เนื้อหาสาระตามตัวชี้วัด
30. รายงานหน้าชั้นเรียน
utq103 ประกันคุณภาพทำ ได้ 22 คะแนน
ตอบลบ1.ง.ข้อกำหนดเพื่อใช้เป้นหลักในการเทียบเคียง
2.ค.เห็นแนวทางการพัฒนาตนเอง
3.ก.ให้มีระบบการประกัน
4.ค.ละเอียด
5.ก.การพัฒนา
6.ข.กำหนดเป้าหมาย
7.ข.การรับรอง
8.ข.การจัดให้มีการศึกษา
9.ก.ผู้เรียนเป้นสำคัญ
10.ก.ผู้เรียนมีความสามารถ
11.ค.กระบวนการในการบริหาร
12.ค.กลยุทธ์ที่4
13.ก.เพื่อใช้เป้นหลักในการประเมิน
14.ง.ถูกทั้งกข
15.ง.แนวการจัด
16.ค.ผู้เรียนทุกคนรับกศที่มีคุณภาพ
17.ข.การใช้จ่าย
18.ง.ให้นำข้อเสนอแนะจากประเมินภายนอก
19.ก.บอกผลที่ต้องการให้เกิด
20.ค.มีการประเมิน
21.ง.ดำเนินการ
22.ข.เน้นการสรุป
23.ข.การตรวจสอบความก้าวหน้า
24.ก.ต้องครอบคลุม
25.ง.เสนอรายงานต่อสมศ
26.ง.ถูกทุกข้อ
27.ก.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
28.ข.ต่างกัน
29.ก.การรับรอง
30.ค.ทราบปัญหา
212 สุขศึกษา ได้23 คะแนน
ตอบลบ1 ข โครงสร้างรายวิชา
2 ก จัดทำโครงสร้างรายวิชา
3 ง ระบุมาตรฐาน
4 ข มาตรฐาน/ตัวชี้วัด-ออกแบบ
5 ก ชื่อหน่วย.../ม/ต/ส/ว/น
6 ข การเครื่อนไหวประกอบดนตรี
7 ก แผนที่สุขศึกษา
8 ค ขั้นชี้แจงขอบข่าย
9 ก ด้านพฤติกรรมมนุษย์
10 ง พฤติกรรมสุขภาพ
11 ค ความคิดสร้างสรรค์
12 ข คิดสังเคราะห์
13 ก คิดวิเคราะห์
14 ข เจตคติ ทักษะ ความรู้
15 ข การสอนสุขไม่จำเป็น
16 ค พัฒนาการทาง................................ธรรม
17 ค ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน
18 ง ถูกทุกข้อ
19 ก ระดับประถมศึกษา
20 ค 80ชม.2หน่วยกิต
21 ข ผู้วัด สิ่งที่ต้องวัด วิธีการวัด
22 ค วิเคราะห์สาระ
23 ก วิเคราะห์ผู้เรีนย
24 ง กิจกรรมการเรียนรู้
25 ง ความคิดรวบยอด
27 ง มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
28 ข มีความยืดหยุ่น
29 ก ทำความเข้าใจ
30 ง ใช้เป็น
utq 218 ได้ 22/30
ตอบลบ1) หลักสูตรแกนกลาง........กำหนดให้ผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
2) เพื่อให้สามารถสื่อสาร....
3) สาระภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
4) นักเรียนที่จบชั้นป.6ต้องใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสืบค้นข้อมูล...
5) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบด้านความรู้ ทักษะและ.....
6) ความสามารถในการใช้ทักษะการคิด
7) จัดทำคำอธิบายรายวิชา จัดทำโครงสร้างราย...
8) ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน...
9) ภาระงาน/ชิ้นงาน
10) ประเด็นการให้คะแนนความสามารถ.......
11) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้....
12) การตอบคำถามเกี่ยวกับสภาพอากาศ..........
13) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
14) เน้นการจัดกิจกรรมที่สนุกสนาน...
15) การจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียน........
16) Task-Based Approach
17) การใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
18) ครูและนักเรียนร่วมกัน....
19) ทำนายเนื้อหาจากชื่อเรื่อง
20) การโทรศัพท์ถามสภาพ.....
21) ครู-นักเรียนและเพื่อนเขียนร่วมกัน...
22) เชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์....
23) นักเรียนมีแรงจูงใจในการเขียน....
24) เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
25) เพื่อให้การวัดและประเมินผลสอดคล้อง...
26) การนำเสนอข่าวหน้าชั้นเรียน
27) นักเรียนเขียนกราฟแสดงสถิติการเกิดอุบัติ....
28) การทำสมุดภาพและคำศัพท์เรื่อง...
29) นักเรียนเรียงลำดับเหตุการณ์ในเรื่อง
30) นักเรียนเขียนจดหมายลงในวารสาร...
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนเหมือนกัน
ตอบลบแต่สลับข้อสลับตัวเลือก
ได้ 28 คะแนน
1.ง .จากงานที่ปฏิบัติเป็นประจำ
2.ข.ผู้วิจัยมีความสนใจอย่างแท้จริง
3.ก ไม่กวางมาก
4.ก.การพัฒนาบทเรีนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ระบบสุริยะ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6
7.ค. ครู ค รณรงค์การทิ้งขยะในโรงเรียนให้เป็นที่สม่ำเสมอ
8.ก. การสอนแบบโครงงาน
7.ค. ชื่อเรื่อง ความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน
8.ข.ขอบเขตการวิจัย
9.ข.การสังเคราะห์แสงของพืช
10.ก.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนต้นไม้ ปีการศึกษา 2553 จำนวน 6 ห้องเรียน 240 คน
11.ก.วิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่าง
12.ค.ศึกษากลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
13.ง.สมมติฐานการวิจัย
14.ก.แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
15.ก.แบบบันทึกเวลาเรียน
16.ง.ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
17.ง.ความน่าเชื่อถือ
18.ก.KR-20
19.ข.แบบทดสอบคู่ขนาน
20.ข.ค่าประสิทธิภาพ
21.ข.t-test
22.ข.ส่วนนำ-ส่วนเนือหา-ส่วนอ้างอิง
23.ก.บทที่ 1 บทนำ
24.ค.บทคัดย่อ
25.ข.บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
26.ข.วัตถุประสงค์การวิจัย
27.ง.บทคัดย่อ
28.ง.ใช้ในการป้องกันเหตุความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในคดีความ
29.ง.ครู นักเรียน ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และประชาชนทั่วไป
30.ค.S.D.
ข้อสอบหลังเรียน UTQ 203 คณิตศาสตร์ ชุดใหม่ ประถมศึกษา 26 คะแนน
ตอบลบ1. ค. การประเมินผล /ข้อใดไม่ใช่....
2. ข. การจัดการเรียนรู้...พัฒนาการทางสมอง /หลักการสำคัญ
3. ก. มีความคิดริเริ่ม /ข้อใดเป็นคุณภาพ
4. ง. ถูกทั้ง กข ค /รูปแบบ
5. ข.มาตรฐาน
6. ง. ทักษะกระบวนการ
7. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
8. ก ความรู้พื้นฐาน
9. ก. มาตรฐานเป็นเป้าหมาย
10. ง. ถูก ก ข ค
11.ค การเรียนรู้จากการทดลอง
12. ข. ผู้บริหาร สภาพแวดล้อม
13. ค. ฝึกให้คิด
14. ง. ถูกทุกข้อ
15. ก. ทำความเข้าใจ แผน ดำเนิน ตรวจ
16. ข.เปิดโอกาส
17. ค กระบวนการเชื่อมโยง
18. ง. นำคณิตไปใช้
19. ข. สืบเสาะความรู้
20. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
21. ข. สาระ 1 มฐ 1 ป 1 ช้อ 2
22.ข. ปฏิบัติจริง
23. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
24. ค. เปรียบเทียบ
25. ข. สอดคล้อง
26. ง. แบบทดสอบ
27. ก. ศึกษาเอกสาร
28. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
29. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
30. ข. ใช้สื่อด้วยตนเอง
ตอบตามนี้ จะได้คะแนน ๒๖ คะแนน ผ่านร้อยละ 70
utq205 วิทยาศาสตร์ป.1-3 ได้24คะแนน
ตอบลบ1. ข้อใด ไม่พบ ในจุดหมายของหลักสูตร
ประกอบอาชีพสุจริต
2. ข้อใดเป็นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ถูกทุกข้อ
3. “ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง” พบอยู่ในข้อใดของหลักสูตร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. ข้อใดที่สถานศึกษาร่วมกันจัดทำขึ้นมา
โครงสร้างรายวิชา
5. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ได้ถูกต้อง 1. กิจกรรรมการเรียนรู้ 2. เป้าหมายเรียนรู้ 3. หลักฐานการเรียนรู้
2 3 1
6. ข้อใดไม่พบ ในโครงสร้างรายวิชา
การวัดผลและประเมินผล
7. “ทดลองสมบัติของดินชนิดต่างๆ” จัดอยู่ในสาระใด
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
8. ข้อใดบอกความหมายของรหัส ว 5.1 ป.2/2 ได้ถูกต้อง
สาระที่ 5
9. “เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ ดวงอาทิตย์และดวงดาว” คือคุณภาพของผู้เรียนในข้อใด
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
10. “ทดลองและอธิบายท่อลำเลียงและปากใบของพืช” ข้อความนี้จะพบได้ที่ส่วนใดของหลักสูตรแกนกลาง
มาตรฐาน
11. ข้อใดเป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
การสังเกต
12. จากตารางข้างบนนี้ นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะใด ทักษะการจำแนก
13. “วัฏจักรชีวิตของยุง” จากแผนภูมข้างบนนี้ เกี่ยวข้องกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะใด
การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
14. กิจกรรมในข้อใด ที่นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
สำรวจพืชดอกในโรงเรียน
15. “นักเรียนปฏิบัติการทดลอง เรื่อง ในดินมีน้ำ” กิจกรรมนี้อยู่ในขั้นตอนใด ของการสืบเสาะหาความรู้ที่พัฒนา ขั้นสำรวจและค้นหา
16. ข้อใดเป็นประโยชน์ของแผนการจัดการเรียนรู้
เตรียมการไว้ล่วงหน้า
17. การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์มาจากข้อใด
หลักสูตรแกนกลาง
18. จุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์มาจากข้อใด ตัวชี้วัด
19. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนต่อไป ควรเป็นข้อใด สื่อและแหล่งเรียนรู้
20. ผู้ที่บันทึกผลหลังสอนในแผนการจัดการเรียนรู้คือข้อใด
ครูผู้สอน
21. “สารละลายไอโอดีน ” จัดเป็นสื่อประเภทใด สื่อของจริง
22. “ดินในแต่ละแห่ง มีลักษณะแตกต่างกัน” ท่านจะเลือกแหล่งเรียนรู้ในข้อใด
ห้องสมุด
23. “สถานที่ในแต่ละแห่ง อุณหภูมิจะแตกต่างกัน ” ท่านจะเลือกใช้อุปกรณ์ชนิดใด เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนของท่าน
เทอร์มอมิเตอร์
24. จากข้อ 23 ท่านจะเลือกแหล่งเรียนรู้ในข้อใด
บริเวณต่างๆ ในโรงเรียน
25. สื่ออุปกรณ์ใด ควรใช้อย่างระมัดระวัง
ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
26. ข้อใด ไม่ใช่ จุดมุ่งหมายหลักของการวัดผลและประเมินผล
เพื่อทำผลงาน
27. ข้อใด เป็นการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน
เกิดขึ้นก่อนเรียน ขณะเรียน และสิ้นสุดการเรียน
28. ข้อใดเป็นแนวทางการวัดผลและประเมินผล ถูกทุกข้อ
29. ข้อใดเป็นเครื่องมือในการวัดผล ถูกทุกข้อ
30. ข้อใด ไม่เป็น แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผล
บันทึกของครู
UTQ-215 นาฏศิลป์ ได้ 22 คะแนน
ตอบลบ1. ตัวมาตรฐานในหลักสูตรสาระแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาระทัศนศิลป์ ดนตรีนาฏศิลป์ข้อใดเหมือนกัน
-มาตรฐานข้อ 1 และข้อ 3
2. ในการออกแบบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรุ้เรื่องรำวงมาตรฐาน ข้อใดเป็นผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่สำคัญที่สุด
-สามารถอธิบายที่มาของรำวงมาตรฐานได้
3. ในการออกแบบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ละครสร้างสรรค์ ข้อใดเป็นสาระสำคัญที่สำคัญที่สุด
-ละครสร้างสรรค์จะประสบผลสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย
4. กิจกรรมที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ควรมีลักษณะอย่างไร
-เกิดจากการร่วมคิดร่วมทำของครูและนักเรียน
5. ข้อใดเรียงลำดับการวิจารณ์ผลงานนาฏศิลป์ได้ถูกต้อง
-บรรยาย วิเคราะห์รูปแบบ ตีความ ประเมินตัดสิน
6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของนาฏศิลป์
-ผู้แสดง – ผู้ชม
7. แสดงวิวัฒนาการข้อใดแสดงถึงวิวัฒนาการของการแสดงละครไทยที่ชัดเจน
-จากละครนอก – ละครพันทาง
8. ข้อใดเป็นการแสดงที่เป็นมาตรฐาน
-ระบำเทพบันเทิง
9. ท่านเป็นครูสอนวิชานาฏศิลป์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ท่านควรสอนนาฎศิลป์ชุดใด
-ฟ้อนเงี้ยว
10. ข้อใดแสดงว่านักเรียนมีสุนทรียภาพทางนาฏศิลป์
-สามารถอธิบายลักษณะการแสดงละครในและสาธิตท่ารำได้
11. ข้อใดไม่ใช้ประเภทของภาษาท่านาฎศิลป์ไทย
-ประเภทท่าที่แสดงบรรดาศักดิ์
12. การยกเท้าที่อยู่ข้างหลังแล้วกระแทกจมูกเท้าลงที่พื้น ด้านหลังคือท่ารำในข้อใด
-กระทุ้ง
13. ข้อใดเป็นความหมายของนาฏศิลป์
-ศิลปะแห่งการละครฟ้อนรำ
14. ก่อนการรำวงมาตรฐานผู้แสดงควรปฏิบัติอย่างไร
-ทำความเคารพด้วยการไหว้
15. รำแม่บทเล็ก เป็นชุการการแสดงในบทละครเรื่องใด
-รามเกียรติ์
16. เพลงเพิ่มต้นของการำแม่บทเล็ก คือเพลงอะไร
-เพลงรัว
17. ชื่อบุคคลใดเป็นบรมครูทางนาฎศิลป์ของวิทยาลัยนาฎศิลป์
-คุณครูลมุล ยมะคุปต์
18. ในเรื่องเทคนิคการจัดการแสดงหัวข้อใดสื่อให้ผู้ชมทราบถึงยุคสมัยมากที่สุด
-เครื่องแต่งกาย
19. ละครโอเปร่าเกิดขึ้นในศตวรรษที่เท่าไร
-ศตวรรษที่ 16
20. สิ่งใดที่แสดงว่า “นาฏศิลป์ไทยเป็นศิษย์มีครู”
-ผู้สอนนาฏศิลป์ได้รับการครอบครู รับมอบ
21. ข้อใดคือความหมายของการวิจัย
-การศึกษาหาความรู้อย่างมีระบบโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
22. การศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เป็นการวิจัยประเภทใด
-วิจัยทดลอง
23. จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง “การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์” ข้อใดคือจุดประสงค์หรือความมุ่งหมายในการวิจัย
-ความคิดเห็นของนักเรียน
24. จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง “การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์” ข้อใดคือตัวแปรต้นในการวิจัย
-การเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์
25. จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง “การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์” ข้อใดคือตัวแปรตามในการวิจัย
-ความคิดเห็นของนักเรียน
26. ถ้านักเรียนเข้าสอบปลายภาคในรายวิชานาฏศิลป์ จำนวน 25 คน สอบตก 5 คน คิดเป็นนักเรียนสอบได้ร้อยละเท่าไร
-80
27. ถ้านักเรียนหนีเรียน หรือไม่เข้าเรียนบ่อย ๆ เราควรกำหนดหัวข้อในการวิจัยเกี่ยวกับอะไร
-พฤติกรรมของนักเรียน
28. ข้อใดคืองานวิจัยทางการศึกษา
-การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
29. จากแผนภูมิผลการทดสอบย่อยรายวิชานาฏศิลป์ต่อไปนี้ การสอบครั้งที่เท่าไร ที่มีนักเรียนสอบผ่านน้อยที่สุด
-ครั้งที่ 5
30. จากแผนภูมิผลการทดสอบย่อยรายวิชานาฏศิลป์ต่อไปนี้ การสอบครั้งที่เท่าไร ที่มีนักเรียนสอบไม่ผ่านน้อยที่สุด
-ครั้งที่ 1
utq216 ได้ 25ข้อ
ตอบลบ1.ข ครูสอน
2.ก สื่ที่นำ
3.ค แหล่ง
4.ก สื่อครูนิตยา
5.ข ตรงตามวัตถุ
6.ง ผู้เรียนเรียน
7.ค การสรางและพัฒนา-ค่าใช้จ่าย
8.ข เรียนรู้กระบวนการ
9.ก ความรู้ ทักษะ
10.ง ทุกข้อ
11.ง วัด
12.ง ครู
13.ข ชั้นเรียน+พัฒนา
14.ง.มาตร+ชี้วัด
15.ค ครูสมใจ
16.ค ป.4
17.ก คิดสร้าง
18.ก
19.ง คอม
20.ง.ปรีชา
21.ค ลดของเสีย
22.ก. ทำงานเพื่อดำรง
23.ก การดำรงชีวิต
24.ง เทคโนการทำงานอาชีพ
25.ค.
26.ก
27.ง
28.ง ทุกกลุม
29.ก
30.ง
31.ค
UTQ208 ภูมิศาสตร์ ได้ 28 คะแนน หลังเรียน
ตอบลบ1.ก เป็นพลเมืองดี - เป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน
2.ค ศาสนา หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
3.ง เน้นให้มีความรู้เพื่อการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมในฐานะเป็นพลเมืองดี
4.ง พัฒนาตนเองเพื่อความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
5.ค จัดหลักสูตรเพื่อสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเกี่ยวกับสังคม
6.ง ทำเลที่ตั้ง สถานที่
7.ข เศรษฐศาสตร์
8.ก การศึกษาความสอดคล้องระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
9.ข ชาวอียิปต์สร้างเขื่อน
10.ง อธิบายสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลก
11.ก ในเขตร้อน อินทรียวัตถุในดินสลายตัวเร็วขึ้น
12.ก ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์
13.ง แม่น้ำ กระแสน้ำ
14.ข ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
15.ง ชาวมองโกเลียเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน
16.ข อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน
17.ค ฝนน้ำแข็ง
18.ค มีดินตะกอนที่อุดมสมบูรณ์
19.ก แผนที่ ภาพจากดาวเทียม อินเทอร์เน็ต
20.ข ที่ราบลุ่มแม่น้ำแอมะซอน
21.ข สีแดงและสีดำ
22.ค การศึกษาข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาและสมุทรศาสตร์
23.ข เป็นระบบที่จัดทำอย่างมีประสิทธิภาพ
24.ก การจัดทำเป็นวิทยาศาสตร์
25.ก บุคลากร
26.ค ใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
27.ก การสอนโดยใช้โครงงาน
28.ข เรียนรู้จากสภาพจริง เรื่องใกล้ตัว
29.ค กำหนดประเด็น > วางแผนและการเตรียมการ
30.ง เป็นการสกัดกั้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ข้อสอบ UTQ - 209 ได้ 25 คะแนน
ตอบลบ1. ก. การไต่สวน
2. ค. ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอย
3. ง. การรู้รากเหง้า
4. ข.ช่วยให้มนุษย์รู้ข้อมูล
5. ข. มาตรฐานส4.3
6. ข. วิธีการทางประวัติฯ
7. ก ส.4.1
8. ง. การกำหนดหัวเรื่อง
9. ข. โครงงานประวัติคือการใช้วิธีการ
10. ข.การรวบรวมข้อมูล
11. ค.การใช้ขั้นตอน
12. ก. การสรุปผล
13. ก. ความคิดเป็นผล
14. ง. กระบวนการคิด
15. ค. การระบุลักษณะ
16. ก. การเขียนภาพ ลำดับเหตุการณ์
17. ก. แผนผังความคิดรวบยอด
18. ก. แผนผังรูปวงกลม
19. ง. มาตรฐานตัวชี้วัด
20. ก. การรวบรวมหลักฐาน
21. ง. การกำหนดหัวเรื่อง
22. ง. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
23. ง. ขั้นสร้างชิ้นงาน
24. ค.กำหนดประเด็น
25. ค. มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด
26. ก. เป้าหมายการเรียนรู้
27. ง. การทำโครงงาน
28. ก.วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
29. ข. เนื้อหาสาระ
30. ง. รายงานหน้าชั้น
utq 218 ได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. หลักสูตรแกนกลาง...ภาษาอังกฤษเป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
2. เพื่อให้...แสวงหาความรู้และ...อาชีพ
3. สาระภาษาอังกฤษ...ชุมชนและโลก
4. นักเรียนที่จบชั้น ม.6...ด้วยแผ่นพับ
5. เพื่อวิเคราะห์...ความรู้ ทักษะ...จัดการเรียนรู้
6. ...ทักษะการคิด
7. จัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา...ออกแบบแผนฯ
8. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง...เช่นความสัมพันะในครอบครัว
9. ภาระงาน/ชิ้นงาน
10. สมรรถนะสำคัญ...
11. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด...กิจกรรมการเรียนรู้
12. การตอบคำถาม...อากาศในฤดูต่างๆ
13. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
14. เน้นการจัดกิจกรรมที่สนุกสนาน...
15. การจัดกิจกรรมให้นักเรียน...ภาษาไทย
16. Task-based Approach
17. การพัฒนาทักษะการคิด
18. ครูและนักเรียนร่วมกัน...
19.ทำนายเนื้อหาจากชื่อเรื่อง
20. การโทรศัพท์ถามสภาพ...
21. นักเรียนตรวจแก้หลักภาษา...
22. เชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์...
23. นักเรียนมีแรงจูงใจ...
24. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
25. เพื่อให้การวัดและประเมินผลครอบคลุมเนื้อหา
26. การทำโครงงาน...
27. นักเรียน Brain strom ...
28. การทำสมุดภาพ...
29. นักเรียนเรียงลำดับ ...
30. นักเรียนเขียนจดหมาย...
utq 202 ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษา ได้ 24 คะแนน
ตอบลบ1."....ภาษาไทยเป็นเครื่องมือ...."
- วิสัยทัศน์การสอนภาษาไทย
2. การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา...
- มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
3. หลักการของการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญที่สุดคือ
- เน้นการคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
4. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
- การจัดทำแผนการเรียนรู้
5. ข้อใดมิใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง...
- ความสามารถในการทำงาน การใฝ่เรียนรู้
6. ความสามารถใช้กระบวนการเรียนรู้ต่างๆ...
- ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี พัฒนาสมรรถนะได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
7. แนวคิดสำคัญที่สุดซึ่งเป็นองค์ประกอบ...
- ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน
8. ข้อใดไม่จำเป็นต้องระบุในหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วย
- การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่น กิจกรรมเสนอแนะ
9. "การสอนแบบมุ่งประสบการณ์"หมายถึง...
- นักเรียนเล่าเรื่อง ลำดับเรื่อง สนทนา อภิปราย อ่านเรื่องและแสดงบทบาทสมมุติ
10. ในการสอนแบบ"การเรียนรู้แบบร่วมมือ"บทบาทสำคัญที่สุดของนักเรียนคืออะไร
- การร่วมกันรับผิดชอบต่อผลงานและความสำเร็จของกลุ่ม
11. ข้อใดเป็นกระบวนการขั้นที่ 3 ของกระบวนการสืบสวนสอบสวน
- ทดสอบสมมุติฐาน
12. ข้อควรคำนึงในการจัดทำแผนการเรียนรู้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การกำหนดสื่อการเรียนการสอน ควรกำหนดให้มากเพื่อสะดวกแก่การเลือกใช้
13. ข้อใดเป็นประโยชน์สำคัญที่สุดของการใช้กระบวนการสอนด้วยแผนภาพความคิด
- นักเรียนสามารถจัดระบบความคิดของตนเองได้
14. กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยข้อใดทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอน
- ทุกข้อสามารถทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอนได้หากเลือกใช้ได้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
15. บุคคลในข้อใดประสบความสำเร็จในการสอน
- ครูวินัยเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสะท้อนผลทุกครั้งหลังเสร็จสิ้นการสอน
16. การสอนให้นักเรียนผันวรรณยุกต์ได้อย่างถูกต้องครูควรสอนพื้นฐานความรู้เนื้อหาใดให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น
- ทั้งข้อ ก. และ ข.
17. ในการสอนเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางภาษาครูควรคำนึงถึงจุดประสงค์ใดเป็นสำคัญ
- การสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติจริง
18. ข้อใดเป็นพื้นฐานสำคัญของหลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- การเรียนรู้กระบวนการและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
19. เมื่อท่านต้องสอนวรรณคดีหรือวรรณกรรม...
- สอนให้นักเรียนเห็นคุณค่าทางภาษา แนวคิด ทางสังคม และนำประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
20. การวัดผลและประเมินผลในวิชาสอนภาษาไทยแต่ละครั้งต้องครอบคลุมด้านใดบ้าง
- ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะ
21. กระบวนการตรวจสอบผู้เรียนว่ามีพัฒนาการตรงตามจุดประสงค์หรือไม่...
- ใช้ได้ทุกข้อ
22. วิธีการที่สามารถค้นหาความสามารถและความก้าวหน้า...
- วัดและประเมินผลตามสภาพจริง
23. แหล่งเรียนรู้ข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
- อุทยานแห่งชาติ
24. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ พิจารณาถึงประโยชน์มากกว่าข้อจำกัดด้านค่าใช้จ่าย
25. การประเมินด้วยการกำหนดประเด็นการประเมินที่แจกแจง (Rubric)ไม่...
- ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้หรือไม่
26. มีผู้กล่าวว่า "การท่องอาขยานยังถือว่ามีความสำคัญ" ข้อใดน่าจะเป็นเหตุผลสนับสนุนที่ดีที่สุด
- ทำให้นักเรียนซึมซับความละเอียดอ่อนของการใช้ถ้อยคำของกวี
27. ครูกำหนดให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้และค้นคว้าจาก...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
28. ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างประโยคความรวมได้ ผู้สอนใช้...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
29. ผลการเรียนรู้ที่สำคัญหลังจากทำโครงงานเสร็จ 1 โครงงานตรงกับกรอบความคิดข้อใด
- ความเข้าใจคงทน
30. ข้อใดเน้นการเรียนรู้โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองน้อยที่สุด
- นักเรียนจดงานตามที่ครูเขียนบนกระดานอย่างครบถ้วน
UTQ 102 การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
ตอบลบคำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง ?
ก) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
ข)* สถานศึกษากำหนดตัวชี้วัดเอง
ค) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้
ง) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดตัวชี้วัดให้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
2. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ในการบริหารหลักสูตรระดับสถานศึกษา ?
ก)* จัดทำมาตรฐานและตัวชี้วัดของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ข) ส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรและงบประมาณ
ค) กำกับดูแลคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา
ง) จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุงมาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในข้อใด ?
ก) 2542
ข) 2543
ค)* 2544
ง) 2545
4. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ ของการศึกษารายวิชา การบริหารหลักสูตร (UTQ-102) ?
ก)* มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การจัดทำหลักสูตรระดับชาติ
ข) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษา
ค) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการส่งเสริม สนับสนุน การใช้หลักสูตรระดับสถานศึกษา
ง) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การกำกับดุแลคุณภาพการนำหลักสูตรระดับสถานศึกษาไปใช้
5. การบริหารจัดการหลักสูตรมีกี่ระดับ ?
ก) 2 ระดับ
ข)* 3 ระดับ
ค) 4 ระดับ
ง) 5 ระดับ
6. ข้อใดกล่าวถึงรายวิชาพื้นฐานไม่ถูกต้อง ?
ก) เป็นรายวิชาที่นักเรียนทุกคนต้องเรียน
ข)* เป็นรายวิชาที่นักเรียนเลือกเรียนได้ตามความถนัด
ค) เป็นรายวิชาที่เปลี่ยนแปลงมาตรฐานและตัวชี้วัดไม่ได้
ง) เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาต้องจัดการสอนให้ครบ
7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมใดที่เพิ่มเติมในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ?
ก) กิจกรรมแนะแนว
ข) กิจกรรมชมรม
ค) กิจกรรมลูกเสือ
ง)* กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและสาธารณประโยชน์
8. สิ่งใดกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ไม่สามารถปรับหรือเพิ่มเติมได้เมื่อไปจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา?
ก)* คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข) ตัวชี้วัด
ค) วิสัยทัศน์
ง) สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
9. หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับประถมศึกษา กำหนดให้มีเวลาเรียนทั้งสิ้นไม่เกินกี่ชั่วโมงต่อปี ?
ก) 840 ชั่วโมง/ปี
ข)* 1,000 ชั่วโมง/ปี
ค) 1,200 ชั่วโมง/ปี
ง) 1,500 ชั่วโมง/ปี
10. ข้อใดกล่าวถึงรายวิชาเพิ่มเติมไม่ถูกต้อง ?
ก) เป็นรายวิชาที่เปิดตามความต้องการของผู้เรียน
ข) เป็นรายวิชาที่เปิดตามความต้องการของท้องถิ่น
ค)* เป็นรายวิชาที่นำตัวชี้วัดจากหลักสูตรแกนกลางมาใช้
ง) กำหนด “ผลการเรียนรู้” เป็นเป้าหมายแทนตัวชี้วัด
11. บุคลใดมีหน้าที่โดยตรงในการจัดทำโครงสร้างรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ?
ก)* ครูผู้สอนประจำรายวิชา
ข) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ค) ครูวิชาการของโรงเรียน
ง) คณะกรรมการสถานศึกษา
12. ผู้ลงนามในประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาคือบุคลใด ?
ก) ผู้แทนชุมชน
ข) ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา
ค) ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา
ง)* ผู้บริหารสถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษา
13. ขั้นตอนแรกในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ?
ก) วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
ข)* แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ค) จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ง) คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ
14. บุคคลใดเกี่ยวข้องในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาน้อยที่สุด ?
ก) ผู้บริหาร
ข) ครู
ค)* นักการเมือง
ง) ผู้ปกครองและนักเรียน
15. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีในการใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ?
ก) เหมาะกับครูที่ทำการสอนหลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ข) ลดภาระการวัดและการประเมินผลของครู
ค)* ช่วยให้ครูไม่ต้องประเมินผลครบทุกตัวชี้วัด
ง) เหมาะกับโรงเรียนที่มีครูไม่ครบชั้นเรียน
16. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดโครงสร้างรายวิชา ?
ตอบลบก) หน่วยการเรียนรู้
ข) สาระการเรียนรู้
ค) ตัวชี้วัด/เวลา
ง)* เกณฑ์การประเมิน
17. ในหน่วยการเรียนรู้ การที่จะทำให้นักเรียนมีมาตรฐานตามตัวชี้วัดข้อใดคือสิ่งสำคัญที่สุด ?
ก) ชื่อหน่วยการเรียนรู้
ข)* กิจกรรมการเรียนรู้
ค) เวลาเรียน
ง) จำนวนนักเรียน
18. หัวใจของการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษาสู่ชั้นเรียนคือข้อใด ?
ก) โครงสร้างรายวิชา
ข)* หน่วยการเรียนรู้
ค) สาระสำคัญ
ค) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
19. ผู้นำสำคัญในการสร้างบรรยากาศของการร่วมคิดร่วมวางแผน ร่วมทำหลักสูตรสถานศึกษาคือข้อใด ?
ก) ผู้ปกครอง
ข) คณะครู
ค)* ผู้บริหารสถานศึกษา
ง) ผู้นำชุมชน
20. ข้อใดไม่เกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรในการทำหลัก สูตรสถานศึกษาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ?
ก) การจัดสื่อวัสดุ อุปกรณ์ให้เหมาะสมเพียงพอ
ข) จัดอาคารสถานที่ต่างๆให้พอเพียงและเอื้อต่อการเรียนการสอน
ค) จัดครูเข้าสอนตรงความรู้ความสามารถและความถนัด
ง)* จัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องส่งเสริมการสร้างเครือข่าย
21. ข้อใดไม่ใช่การส่งเสริม สนับสนุน การใช้หลักสูตรระดับสถานศึกษา ?
ก)* การนิเทศ กำกับติดตาม
ข) การพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา
ค) การส่งเสริมสนับสนุนทางวิชาการ
ง) การดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม
22. ขั้นตอนแรกของการพัฒนาบุคลากรคือข้อใด ?
ก) ประเมินความต้องการและความจะเป็นในการพัฒนาบุคลากร
ข)* แต่งตั้งคณะทำงานด้านการพัฒนาบุคลากร
ค) จัดแหล่งเรียนรู้ หลักสูตร และการจัดการเรียนรู้แก่บุคลากร
ง) ดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนที่วางไว้
23. กิจกรรมใดเกี่ยวกับการสนับสนุนทางวิชาการของสถานศึกษาในการพัฒนา หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ น้อยที่สุด ?
ก)* การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพ
ข) จัดระบบการบริหารงานทางวิชาการที่มีประสิทธิภาพ
ค) ส่งเสริมสนับสนุนครูเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ง) จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูและบุคลากรทางการศึกษา
24. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักของการวิจัยในชั้นเรียน?
ก) เพื่อแก้ปัญหาในการเรียนการสอน
ข) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาการเรียนของนักเรียน
ค) เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนของครู
ง)* เพื่อจัดทำสื่อและหาประสิทธิภาพ
25. การประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาควรมุ่งเน้นการประเมินเรื่องใดที่สำคัญ ที่สุด ?
ก) องค์ประกอบของหลีกสูตร
ข) โครงสร้างของหลักสูตร
ค)* คุณภาพของผู้เรียนทั้งผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ง) หน่วยการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้
26. การวิจัยในชั้นเรียนนั้นครูควรเริ่มต้นจากสิ่งใดก่อนข้ออื่น ?
ก) เลือกปัญหาสำคัญในการสอนของครู
ข) เลือกปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อผู้ปกครอง
ค) เลือกปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน
ง)* เลือกปัญหาที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อผู้เรียนมากที่สุด
27. นิเทศ ติดตาม การใช้หลักสูตรมีจุดประสงค์สำคัญที่สุดคือข้อใด ?
ก) ช่วยตรวจสอบกระบวนการสอนของครู
ข) เป็นการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เรียน
ค) เป็นการพัฒนาดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ง)* นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่หลักสูตรกำหนด
28. กระบวนการนิเทศ ติดตาม ข้อใดไม่ควรใช้ในสถานศึกษา ?
ก)* ผู้บริหารกำหนดวิธีการในการนิเทศติดตาม
ข) นิเทศเป็นระบบครบวงจรต่อเนื่องและครอบคลุม
ค) ร่วมกันกำหนดความต้องการหรือกำกับติดตามในการนิเทศ
ง) สร้างความเข้าใจ และทัศนคติเกี่ยวกับการนิเทศในเชิงบวก
29. ในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามุ่งพัฒนาคุณภาพด้านใดมากที่สุด ?
ก) ผู้บริหาร
ข) ครูผู้สอน
ค)* ผู้เรียน
ง) การจัดการเรียนการสอน
30. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นหลักที่เกี่ยวข้องในการประเมินผลการใช้หลักสูตร ?
ก)* ปัจจัยของการใช้หลักสูตร
ข) กระบวนการใช้หลักสูตร
ค) ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ง) เทคนิคและทักษะการสอนของครู
หมายเหตุได้ 28 คะแนน
หมายเหตุได้ 23 คะแนน
ตอบลบ1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการกระจายอำนาจให้โรงเรียนมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตร ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร
ไม่จริงเพราะโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางไม่เปิดช่องให้ปรับตามบริบทเลย
***จริงเพราะโรงเรียนเป็นผู้อนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษาได้เอง
ไม่จริงเพราะสถานศึกษาไม่สามารถกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นได้เอง
จริงเพราะนักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตามความถนัดและความสามารถ
2. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นการเปลี่ยนแปลงจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 สู่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น -> ตัวชี้วัดชั้นปีในการศึกษาภาคบังคับ
****หลักสูตรเน้นเนื้อหา -> หลักสูตรอิงมาตรฐาน
เวลาเรียนรวมแต่ละปี -> เวลาเรียนขั้นต่ำแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
ประเมินตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง -> ประเมินผลตามตัวชี้วัด
3. ข้อปฏิบัติใดของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับข้อกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
****ระดับประถมศึกษาปรับเวลาเรียนพื้นฐานได้ตามความเหมาะสม
มัธยมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง
ระดับประถมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมทุกระดับชั้น
ต้องจัดกิจกรรมชุมนุมในทุกระดับชั้นในมัธยมศึกษาตอนปลาย
4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสิ่งใดต่อไปนี้เป็นเป้าหมายสำคัญที่สุดในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
***มาตรฐานการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง 8 กลุ่ม
หลักการของหลักสูตร
5. ข้อความที่ปรากฏข้างล่างนี้ เป็นข้อมูลส่วนใดของเอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
เป้าหมาย/จุดเน้น
****สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การประเมินคุณภาพระดับท้องถิ่น
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
6. การวางแผนและดำเนินการใช้ วิจัยและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เป็นบทบาท หน้าที่ของใครต่อไปนี้
ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญของ สพฐ.
ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการ
****คณะครูและผู้บริหารสถานศึกษา
นักวิชาการ คณาจารย์ สถาบันอุดมศึกษา
7. ข้อใดต่อไปนี้ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดเพิ่มขึ้น
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
โครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน
*** กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ความต้องการของสถานศึกษาและท้องถิ่น
8. การจัดเวลาเรียนและการตัดสินผลการเรียนปัจจุบันดำเนินการตามข้อใด
*** ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี
มัธยมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี
มัธยมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค
ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนละตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค
9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนข้อใดครอบคลุมตามที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง
แนะแนว ลูกเสือ ชุมนุม
ลูกเสือ-เนตรนารี ชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
แนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมค่าย
*** แนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ
10. เมื่อสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาจะต้องจัดทำสิ่งใดต่อไปนี้ควบคู่กันไป
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
****การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
โครงสร้างรายวิชา ตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนด
11. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานคาดหวังสิ่งใดให้เกิดกับผู้เรียนมากที่สุด
***คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การเรียนรู้แบบบูรณาการ
12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีจุดมุ่งหมายอะไร
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
เพื่อตัดสินผลการเรียน
เพื่อเน้นการปฏิบัติตามสภาพจริง
***เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ แ ละตัดสินผลการเรียน
13. การประเมินเพื่อตัดสินผลมีความหมายตรงกับต่อไปนี้
เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน
เพื่อใช้แก้ปัญหาการเรียนรู้
เพื่อออกแบบกระบวนการจัดการเรียนให้เหมาะสม
*** เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด
14. การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลมีเป้าหมายเดียวกันคืออะไร
หน่วยการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
สื่อการสอนที่เหมาะสม
***นักเรียนที่มีคุณภาพ
15. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเวลาเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้
*** คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
เกณฑ์การจบหลักสูตร
16. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ตอบลบ***ส่วนกลางกำหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ซึ่งเป็นเป้าหมายการวัดประเมินผล แต่ละระดับชั้น
เขตพื้นที่การศึกษากำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นเพื่อให้สถานศึกษาในเขตใช้ใน การจัดการเรียนรู้
สถานศึกษาสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนสาระตามความต้องการของท้องถิ่น หรือ ส่วนที่ต้องการเน้นได้
สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับบริบทและความต้องการ
17. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 มีหลักการเดียวกันคืออะไร ?
ยึดสาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นหลัก
***เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะสำคัญ
มีวิสัยทัศน์แกนกลางเพื่อความเป็นเอกภาพ
18. องค์ประกอบสำคัญของหลักสูตรสถานศึกษา
คำอธิบายรายวิชา
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
เกณฑ์การประเมินกลุ่มสาระการเรียนรู้
19. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ต้องผ่านการอนุมัติการใช้จากคณะกรรการสถานศึกษา
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
คำอธิบายรายวิชา
***เกณฑ์การจบหลักสูตร
หน่วยการเรียนรู้
20. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา มีสิ่งสำคัญอะไรบ้าง ?
****กำหนดรายวิชาที่จัดสอนแต่ละปี/ภาคเรียน เวลาเรียนหรือหน่วยกิต
ความต้องการของท้องถิ่น/สถานศึกษา/เขตพื้นที่การศึกษา
เกณฑ์การจบการศึกษาของผู้เรียน / สถานศึกษา
หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
21. รายวิชาพื้นฐานในหลักสูตรสถานศึกษากำหนดมาจากสิ่งใด ?
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
จุดหมายของหลักสูตรแกนกลาง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลาง
*** มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง
22. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่กิจกรรมพัฒนานักเรียน ?
กิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อ
กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
*** กิจกรรมไหว้ครู
กิจกรรมชุมนุมวาดภาพ
23. ผังความคิดต่อไปนี้ต้องการสื่อสารอะไร
****การนำความรู้ ทักษะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไปกำหนดเป็นรายวิชา
การนำความรู้ ทักษะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไปเขียนเป็นคำอธิบายรายวิชา
มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2สาระ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2 รายวิชา
24. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สถานศึกษากำหนดข้อใดครอบคลุมตามข้อกำหนดของหลักสูตรแกนกลาง
แนะแนว ลูกเสือ ชุมนุม
แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์
แนะแนว ผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ
****แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารีหรือผู้บำเพ็ญปรกิจกรรมเพื่อสังคมฯ
25. จุดเน้นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กำหนดสิ่งใดเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญ
คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์
***วิสัยทัศน์
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
26. การเชื่อมโยงจากหลักสูตรสถานศึกษาสู่การเรียนการสอนและวัดประเมินผลมีสิ่งใดต่อไปนี้เป็นตัวเชื่อม ?
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กับ ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชา กับ โครงสร้างรายวิชา
**** เกณฑ์การจบหลักสูตร กับ หน่วยการเรียนรู้
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา กับ เกณฑ์การตัดสิน
27. จุดมุ่งหมายสำคัญของการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
เพื่อตัดสินผลการเรียน
เพื่อเน้นการปฏิบัติตามสภาพจริง
***เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน
28. บทบาทสำคัญในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ครูต้องคำนึงถึงมากที่สุดคืออะไร ?
ใช้การวัดผลเป็นเครื่องมือการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้
ใช้การประเมินเป็นเป้าหมายของการจัดกลุ่มผู้เรียนตามศักยภาพ
*** ใช้การประเมินเป็นกลไกในการพัฒนา ช่วยเหลือผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย
ใช้การวัดและประเมินประสิทธิภาพการสอน
29. เกณฑ์การให้คะแนน ( Rubrics ) ควรใช้กับการประเมินลักษณะใด
*** การประเมินเชิงคุณภาพ
การประเมินแบบอิงกลุ่ม
การประเมินเชิงปริมาณ
ถูกหมดทุกข้อ
30. การประเมินระดับใดที่ประเมินได้ตรงและสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานมากที่สุด
ระดับระดับชั้นเรียน
***ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ระดับชาติ
utq 218 ได้ 22 คะแนน
ตอบลบ1) หลักสูตรแกนกลาง........กำหนดให้ผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
2) เพื่อให้สามารถสื่อสาร....
3) สาระภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
4) นักเรียนที่จบชั้นป.6ต้องใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสืบค้นข้อมูล...
5) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบด้านความรู้ ทักษะและ.....
6) ความสามารถในการใช้ทักษะการคิด
7) จัดทำคำอธิบายรายวิชา จัดทำโครงสร้างราย...
8) ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน...
9) ภาระงาน/ชิ้นงาน
10) ประเด็นการให้คะแนนความสามารถ.......
11) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้....
12) การตอบคำถามเกี่ยวกับสภาพอากาศ..........
13) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
14) เน้นการจัดกิจกรรมที่สนุกสนาน...
15) การจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียน........
16) Task-Based Approach
17) การใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
18) ครูและนักเรียนร่วมกัน....
19) ทำนายเนื้อหาจากชื่อเรื่อง
20) การโทรศัพท์ถามสภาพ.....
21) ครู-นักเรียนและเพื่อนเขียนร่วมกัน...
22) เชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์....
23) นักเรียนมีแรงจูงใจในการเขียน....
24) เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
25) เพื่อให้การวัดและประเมินผลสอดคล้อง...
26) การนำเสนอข่าวหน้าชั้นเรียน
27) นักเรียนเขียนกราฟแสดงสถิติการเกิดอุบัติ....
28) การทำสมุดภาพและคำศัพท์เรื่อง...
29) นักเรียนเรียงลำดับเหตุการณ์ในเรื่อง
30) นักเรียนเขียนจดหมายลงในวารสาร...
212 สุขศึกษา ได้23 คะแนน
ตอบลบ1 ข โครงสร้างรายวิชา
2 ก จัดทำโครงสร้างรายวิชา
3 ง ระบุมาตรฐาน
4 ข มาตรฐาน/ตัวชี้วัด-ออกแบบ
5 ก ชื่อหน่วย.../ม/ต/ส/ว/น
6 ข การเครื่อนไหวประกอบดนตรี
7 ก แผนที่สุขศึกษา
8 ค ขั้นชี้แจงขอบข่าย
9 ก ด้านพฤติกรรมมนุษย์
10 ง พฤติกรรมสุขภาพ
11 ค ความคิดสร้างสรรค์
12 ข คิดสังเคราะห์
13 ก คิดวิเคราะห์
14 ข เจตคติ ทักษะ ความรู้
15 ข การสอนสุขไม่จำเป็น
16 ค พัฒนาการทาง................................ธรรม
17 ค ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน
18 ง ถูกทุกข้อ
19 ก ระดับประถมศึกษา
20 ค 80ชม.2หน่วยกิต
21 ข ผู้วัด สิ่งที่ต้องวัด วิธีการวัด
22 ค วิเคราะห์สาระ
23 ก วิเคราะห์ผู้เรีนย
24 ง กิจกรรมการเรียนรู้
25 ง ความคิดรวบยอด
27 ง มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
28 ข มีความยืดหยุ่น
29 ก ทำความเข้าใจ
30 ง ใช้เป็น
utq 202 ภาษาไทยชั้นมัธยม ได้ 24 คะแนน
ตอบลบ1."....ภาษาไทยเป็นเครื่องมือ...."
- วิสัยทัศน์การสอนภาษาไทย
2. การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา...
- มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
3. หลักการของการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญที่สุดคือ
- เน้นการคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
4. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
- การจัดทำแผนการเรียนรู้
5. ข้อใดมิใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง...
- ความสามารถในการทำงาน การใฝ่เรียนรู้
6. ความสามารถใช้กระบวนการเรียนรู้ต่างๆ...
- ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี พัฒนาสมรรถนะได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
7. แนวคิดสำคัญที่สุดซึ่งเป็นองค์ประกอบ...
- ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน
8. ข้อใดไม่จำเป็นต้องระบุในหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วย
- การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่น กิจกรรมเสนอแนะ
9. "การสอนแบบมุ่งประสบการณ์"หมายถึง...
- นักเรียนเล่าเรื่อง ลำดับเรื่อง สนทนา อภิปราย อ่านเรื่องและแสดงบทบาทสมมุติ
10. ในการสอนแบบ"การเรียนรู้แบบร่วมมือ"บทบาทสำคัญที่สุดของนักเรียนคืออะไร
- การร่วมกันรับผิดชอบต่อผลงานและความสำเร็จของกลุ่ม
11. ข้อใดเป็นกระบวนการขั้นที่ 3 ของกระบวนการสืบสวนสอบสวน
- ทดสอบสมมุติฐาน
12. ข้อควรคำนึงในการจัดทำแผนการเรียนรู้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การกำหนดสื่อการเรียนการสอน ควรกำหนดให้มากเพื่อสะดวกแก่การเลือกใช้
13. ข้อใดเป็นประโยชน์สำคัญที่สุดของการใช้กระบวนการสอนด้วยแผนภาพความคิด
- นักเรียนสามารถจัดระบบความคิดของตนเองได้
14. กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยข้อใดทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอน
- ทุกข้อสามารถทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอนได้หากเลือกใช้ได้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
15. บุคคลในข้อใดประสบความสำเร็จในการสอน
- ครูวินัยเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสะท้อนผลทุกครั้งหลังเสร็จสิ้นการสอน
16. การสอนให้นักเรียนผันวรรณยุกต์ได้อย่างถูกต้องครูควรสอนพื้นฐานความรู้เนื้อหาใดให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น
- ทั้งข้อ ก. และ ข.
17. ในการสอนเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางภาษาครูควรคำนึงถึงจุดประสงค์ใดเป็นสำคัญ
- การสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติจริง
18. ข้อใดเป็นพื้นฐานสำคัญของหลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- การเรียนรู้กระบวนการและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
19. เมื่อท่านต้องสอนวรรณคดีหรือวรรณกรรม...
- สอนให้นักเรียนเห็นคุณค่าทางภาษา แนวคิด ทางสังคม และนำประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
20. การวัดผลและประเมินผลในวิชาสอนภาษาไทยแต่ละครั้งต้องครอบคลุมด้านใดบ้าง
- ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะ
21. กระบวนการตรวจสอบผู้เรียนว่ามีพัฒนาการตรงตามจุดประสงค์หรือไม่...
- ใช้ได้ทุกข้อ
22. วิธีการที่สามารถค้นหาความสามารถและความก้าวหน้า...
- วัดและประเมินผลตามสภาพจริง
23. แหล่งเรียนรู้ข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
- อุทยานแห่งชาติ
24. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ พิจารณาถึงประโยชน์มากกว่าข้อจำกัดด้านค่าใช้จ่าย
25. การประเมินด้วยการกำหนดประเด็นการประเมินที่แจกแจง (Rubric)ไม่...
- ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้หรือไม่
26. มีผู้กล่าวว่า "การท่องอาขยานยังถือว่ามีความสำคัญ" ข้อใดน่าจะเป็นเหตุผลสนับสนุนที่ดีที่สุด
- ทำให้นักเรียนซึมซับความละเอียดอ่อนของการใช้ถ้อยคำของกวี
27. ครูกำหนดให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้และค้นคว้าจาก...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
28. ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างประโยคความรวมได้ ผู้สอนใช้...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
29. ผลการเรียนรู้ที่สำคัญหลังจากทำโครงงานเสร็จ 1 โครงงานตรงกับกรอบความคิดข้อใด
- ความเข้าใจคงทน
30. ข้อใดเน้นการเรียนรู้โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองน้อยที่สุด
- นักเรียนจดงานตามที่ครูเขียนบนกระดานอย่างครบถ้วน
utq103 ประกันคุณภาพทำ ได้ 22 คะแนน
ตอบลบ1.ง.ข้อกำหนดเพื่อใช้เป้นหลักในการเทียบเคียง
2.ค.เห็นแนวทางการพัฒนาตนเอง
3.ก.ให้มีระบบการประกัน
4.ค.ละเอียด
5.ก.การพัฒนา
6.ข.กำหนดเป้าหมาย
7.ข.การรับรอง
8.ข.การจัดให้มีการศึกษา
9.ก.ผู้เรียนเป้นสำคัญ
10.ก.ผู้เรียนมีความสามารถ
11.ค.กระบวนการในการบริหาร
12.ค.กลยุทธ์ที่4
13.ก.เพื่อใช้เป้นหลักในการประเมิน
14.ง.ถูกทั้งกข
15.ง.แนวการจัด
16.ค.ผู้เรียนทุกคนรับกศที่มีคุณภาพ
17.ข.การใช้จ่าย
18.ง.ให้นำข้อเสนอแนะจากประเมินภายนอก
19.ก.บอกผลที่ต้องการให้เกิด
20.ค.มีการประเมิน
21.ง.ดำเนินการ
22.ข.เน้นการสรุป
23.ข.การตรวจสอบความก้าวหน้า
24.ก.ต้องครอบคลุม
25.ง.เสนอรายงานต่อสมศ
26.ง.ถูกทุกข้อ
27.ก.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
28.ข.ต่างกัน
29.ก.การรับรอง
30.ค.ทราบปัญหา
โครงงานประวัติศาสตร์ utq-209 ได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. การไต่สวนให้รู้ถึง......
2. ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอย....
3. รู้รากเหง้าของตนเอง
4. ช่วยในการตัดสินใจ....
5. มาตรฐานที่ ส 4.3
6. วิธีการทางประวัติ
7. มาตรฐาน ส 4.1
8. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
9. โครงงานประวัติศาสตร์คือากรใช้วิธีการ....
10. การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
11. การใช้ขั้นตอนของวิธีการทาง...
12. ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน
13. ความคิดเป็นผลที่เกิดจาก....
14. การคิดอย่างใคร่ครวญ
15. การระบุลักษณะข้อมูล
16. การเขียนภาพ การลำดับเหตุการณ์
17. แบบแผนผัง...
18. แผนผังรูปวังกลม
19. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
20. การประเมินคุณค่า
21. การกำหนดหัวเรื่อง
22. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน การวิเคราะห์
23. ขั้นสร้างชิ้นงาน
24. กำหนดประเด็นที่จะไปศึกษา
25. มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
26. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
27. การทำโครงงานสืบค้น
28. วิเคราะห์คำสำคัญในมาตรฐาน
29. เนื้อหาสาระตามตัวชี้วัด
30. รายงานหน้าชั้นเรียน
utq 202 ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษา ได้ 24 คะแนน
ตอบลบ1."....ภาษาไทยเป็นเครื่องมือ...."
- วิสัยทัศน์การสอนภาษาไทย
2. การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา...
- มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
3. หลักการของการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญที่สุดคือ
- เน้นการคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
4. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
- การจัดทำแผนการเรียนรู้
5. ข้อใดมิใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง...
- ความสามารถในการทำงาน การใฝ่เรียนรู้
6. ความสามารถใช้กระบวนการเรียนรู้ต่างๆ...
- ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี พัฒนาสมรรถนะได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
7. แนวคิดสำคัญที่สุดซึ่งเป็นองค์ประกอบ...
- ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน
8. ข้อใดไม่จำเป็นต้องระบุในหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วย
- การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่น กิจกรรมเสนอแนะ
9. "การสอนแบบมุ่งประสบการณ์"หมายถึง...
- นักเรียนเล่าเรื่อง ลำดับเรื่อง สนทนา อภิปราย อ่านเรื่องและแสดงบทบาทสมมุติ
10. ในการสอนแบบ"การเรียนรู้แบบร่วมมือ"บทบาทสำคัญที่สุดของนักเรียนคืออะไร
- การร่วมกันรับผิดชอบต่อผลงานและความสำเร็จของกลุ่ม
11. ข้อใดเป็นกระบวนการขั้นที่ 3 ของกระบวนการสืบสวนสอบสวน
- ทดสอบสมมุติฐาน
12. ข้อควรคำนึงในการจัดทำแผนการเรียนรู้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การกำหนดสื่อการเรียนการสอน ควรกำหนดให้มากเพื่อสะดวกแก่การเลือกใช้
13. ข้อใดเป็นประโยชน์สำคัญที่สุดของการใช้กระบวนการสอนด้วยแผนภาพความคิด
- นักเรียนสามารถจัดระบบความคิดของตนเองได้
14. กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยข้อใดทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอน
- ทุกข้อสามารถทำให้ครูประสบความสำเร็จในการสอนได้หากเลือกใช้ได้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
15. บุคคลในข้อใดประสบความสำเร็จในการสอน
- ครูวินัยเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสะท้อนผลทุกครั้งหลังเสร็จสิ้นการสอน
16. การสอนให้นักเรียนผันวรรณยุกต์ได้อย่างถูกต้องครูควรสอนพื้นฐานความรู้เนื้อหาใดให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น
ตอบลบ- ทั้งข้อ ก. และ ข.
17. ในการสอนเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางภาษาครูควรคำนึงถึงจุดประสงค์ใดเป็นสำคัญ
- การสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติจริง
18. ข้อใดเป็นพื้นฐานสำคัญของหลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- การเรียนรู้กระบวนการและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
19. เมื่อท่านต้องสอนวรรณคดีหรือวรรณกรรม...
- สอนให้นักเรียนเห็นคุณค่าทางภาษา แนวคิด ทางสังคม และนำประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
20. การวัดผลและประเมินผลในวิชาสอนภาษาไทยแต่ละครั้งต้องครอบคลุมด้านใดบ้าง
- ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะ
21. กระบวนการตรวจสอบผู้เรียนว่ามีพัฒนาการตรงตามจุดประสงค์หรือไม่...
- ใช้ได้ทุกข้อ
22. วิธีการที่สามารถค้นหาความสามารถและความก้าวหน้า...
- วัดและประเมินผลตามสภาพจริง
23. แหล่งเรียนรู้ข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
- อุทยานแห่งชาติ
24. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ พิจารณาถึงประโยชน์มากกว่าข้อจำกัดด้านค่าใช้จ่าย
25. การประเมินด้วยการกำหนดประเด็นการประเมินที่แจกแจง (Rubric)ไม่...
- ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้หรือไม่
26. มีผู้กล่าวว่า "การท่องอาขยานยังถือว่ามีความสำคัญ" ข้อใดน่าจะเป็นเหตุผลสนับสนุนที่ดีที่สุด
- ทำให้นักเรียนซึมซับความละเอียดอ่อนของการใช้ถ้อยคำของกวี
27. ครูกำหนดให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้และค้นคว้าจาก...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
28. ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างประโยคความรวมได้ ผู้สอนใช้...
- ความรู้และทักษะที่สำคัญ
29. ผลการเรียนรู้ที่สำคัญหลังจากทำโครงงานเสร็จ 1 โครงงานตรงกับกรอบความคิดข้อใด
- ความเข้าใจคงทน
30. ข้อใดเน้นการเรียนรู้โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองน้อยที่สุด
- นักเรียนจดงานตามที่ครูเขียนบนกระดานอย่างครบถ้วน
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบutq 218 ได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. หลักสูตรแกนกลาง...ภาษาอังกฤษเป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
2. เพื่อให้...แสวงหาความรู้และ...อาชีพ
3. สาระภาษาอังกฤษ...ชุมชนและโลก
4. นักเรียนที่จบชั้น ม.6...ด้วยแผ่นพับ
5. เพื่อวิเคราะห์...ความรู้ ทักษะ...จัดการเรียนรู้
6. ...ทักษะการคิด
7. จัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา...ออกแบบแผนฯ
8. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง...เช่นความสัมพันะในครอบครัว
9. ภาระงาน/ชิ้นงาน
10. สมรรถนะสำคัญ...
11. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด...กิจกรรมการเรียนรู้
12. การตอบคำถาม...อากาศในฤดูต่างๆ
13. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
14. เน้นการจัดกิจกรรมที่สนุกสนาน...
15. การจัดกิจกรรมให้นักเรียน...ภาษาไทย
16. Task-based Approach
17. การพัฒนาทักษะการคิด
18. ครูและนักเรียนร่วมกัน...
19.ทำนายเนื้อหาจากชื่อเรื่อง
20. การโทรศัพท์ถามสภาพ...
21. นักเรียนตรวจแก้หลักภาษา...
22. เชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์...
23. นักเรียนมีแรงจูงใจ...
24. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
25. เพื่อให้การวัดและประเมินผลครอบคลุมเนื้อหา
26. การทำโครงงาน...
27. นักเรียน Brain strom ...
28. การทำสมุดภาพ...
29. นักเรียนเรียงลำดับ ...
30. นักเรียนเขียนจดหมาย...
UTQ 216 ได้ 23คะแนน
ตอบลบ1. ค. ครูวิท
2. ก. สื่อที่นำ
3. ข แหล่งประกอบการ
4. ง. สื่อที่
5. ข. ตรงตามวัตถุ
6. ง. ผุ้เรียนเรียนรู้แล้ว
7. ข. การสร้างและพัฒนาสื่อ
8. ข. การเรียนรู้
9. ก. ด้านความรู้
10. ง. ใช้ได้ทุกข้อ
11. ง.วัดและประเมิณ
12. ง. ครูจัดกระบวน
13. ข . ประเมิณผล
14. ง. มาตรฐาน
15. ค. ครูสมใจ
16. ง. ป4
17. ง. ประสิทธิ
18. ก. กำหนดปัยหา
19. ง. คอมฯ
20. ง. ปรีชา
21. ค. ลดของเสีย
22. ค. ทำงาน
23. ก. การดำรง
24 ค. การออกแบบ
25 ก. การวิเคราะ
26 ก. การดำรงชีวิต
27 ง. กำหนดปัญญหา
28 ข. การออกแบบ
29 ง. เทคโนโลยี
30 ง. ความรวดเร็ว
31. ง. เพื่อให้ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
ข้อสอบ UTQ - 209 ได้ 25 คะแนน
ตอบลบ1. ก. การไต่สวน
2. ค. ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอย
3. ง. การรู้รากเหง้า
4. ข.ช่วยให้มนุษย์รู้ข้อมูล
5. ข. มาตรฐานส4.3
6. ข. วิธีการทางประวัติฯ
7. ก ส.4.1
8. ง. การกำหนดหัวเรื่อง
9. ข. โครงงานประวัติคือการใช้วิธีการ
10. ข.การรวบรวมข้อมูล
11. ค.การใช้ขั้นตอน
12. ก. การสรุปผล
13. ก. ความคิดเป็นผล
14. ง. กระบวนการคิด
15. ค. การระบุลักษณะ
16. ก. การเขียนภาพ ลำดับเหตุการณ์
17. ก. แผนผังความคิดรวบยอด
18. ก. แผนผังรูปวงกลม
19. ง. มาตรฐานตัวชี้วัด
20. ก. การรวบรวมหลักฐาน
21. ง. การกำหนดหัวเรื่อง
22. ง. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
23. ง. ขั้นสร้างชิ้นงาน
24. ค.กำหนดประเด็น
25. ค. มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด
26. ก. เป้าหมายการเรียนรู้
27. ง. การทำโครงงาน
28. ก.วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
29. ข. เนื้อหาสาระ
30. ง. รายงานหน้าชั้น
UTQ-217 ได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. I couldn’t agree more.
2. Let’s go to a discotheque, shall we ?
3. That’s really very kind… interview.
4. I’ll think about it.
5. I’m glad you could come.
6. What will you have ?
7. I’m on diet.
8. I don’t believe it.
9. the dinosaurs died because of the cold weather.
10. natural tendency
11. a bird
12. accuse of common criminal (ข้อนี้โคตรยาก.. เดาครับ--อยากเห็นหน้าคนออกข้อสอบข้อนี้มาก)
13. Smoking and drinking endanger pregnancy
14. the medicine could cause some people to feel nervous
15. take less than two tablets before going to bed
16. out
17. On
18. inedible
19. banged
20. clear
21. an exact one
22. according to
23. but
24. assured
25. had obtained
26. haven’t seen
27. leaves
28. was cooking
29. any other
30. spin
โครงงานประวัติศาสตร์ utq-209 ได้ 26 คะแนน
ตอบลบ1. การไต่สวนให้รู้ถึง......
2. ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอย....
3. รู้รากเหง้าของตนเอง
4. ช่วยในการตัดสินใจ....
5. มาตรฐานที่ ส 4.3
6. วิธีการทางประวัติ
7. มาตรฐาน ส 4.1
8. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
9. โครงงานประวัติศาสตร์คือากรใช้วิธีการ....
10. การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
11. การใช้ขั้นตอนของวิธีการทาง...
12. ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน
13. ความคิดเป็นผลที่เกิดจาก....
14. การคิดอย่างใคร่ครวญ
15. การระบุลักษณะข้อมูล
16. การเขียนภาพ การลำดับเหตุการณ์
17. แบบแผนผัง...
18. แผนผังรูปวังกลม
19. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
20. การประเมินคุณค่า
21. การกำหนดหัวเรื่อง
22. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน การวิเคราะห์
23. ขั้นสร้างชิ้นงาน
24. กำหนดประเด็นที่จะไปศึกษา
25. มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
26. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
27. การทำโครงงานสืบค้น
28. วิเคราะห์คำสำคัญในมาตรฐาน
29. เนื้อหาสาระตามตัวชี้วัด
30. รายงานหน้าชั้นเรียน
UTQ-210 สังคม (เน้นเศรษฐกิจพอเพียง) ได้ 24 คะแนน
ตอบลบ1. ง. ม.4-ม.6
2. ก. ความขาดแคลนของทรัพยากร
3. ข.ค่าเสียโอกาส
4. ค. ไม่มีสิ่งใด "ได้" โดยไม่มี "เสีย"
5. ง. เงินเฟ้อและเงินฟืด
6. ก. 2 มาตรฐาน
7. ค. เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
8. ง.บันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเอง
9. ก. ประถมศึกษาปีที่ 4
10. ง. มัธยม 4-6
11. ก. เกิดความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
12. ข. ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมึภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวพร้อม ๆ กัน
13. ค. ความรู้คู่คุณธรรม
14. ง. ความรู้ ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรม
15. ก. การให้นักเรียนทำแบบจำลองเกษตรทฤษฎีใหม่
16. ง. สัมภาษณ์บุคคลเกี่ยวกับการบริหารจัดการเงินออม
17. ค. มัธยมปีที่ 1-3
18. ค. เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน
19. ก. พจนานุกรมเศรษฐศาสตร์
20. ง. เพื่อปรับปรุงพฤติกรรมผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
21. ก. ผู้เรียน
22. ง. การสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
23. ค. วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง
24. ง. ถูกทุกข้อ
25. ง. คุณลักษณะของผู้เรียนเปลี่ยนแปลงไปตามคาดหวัง
26. ค. การวัดและประเมินผลและกระบวนการเรียนการสอนควรดำเนินพร้อมกันไป
27. ข. เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
28. ง. การพัฒนาพฤติกรรมทั้ง 3 ให้มีความสมดุลฯ
29. ก. แบบทดสอบ
30. ค. สามารถจำแนกกลุ่มเก่งกลุ่มอ่อนได้
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบu102 ได้ 28 คะแนน
ตอบลบคำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 202
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ? สถานศึกษากำหนดตัวชี้วัดเอง
2. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ในการบริหารหลักสูตรระดับสถานศึกษา ? ส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรและงบประมาณ
3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุงมาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในข้อใด ? 2544
4. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์รายวิชาการบริหารหลักสูตร (UTQ-102) ? มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การจัดทำหลักสูตรระดับชาติ
5. การบริหารจัดการหลักสูตรมีกี่ระดับ ? 3 ระดับ
6. ข้อใดกล่าวถึงรายวิชาพื้นฐานไม่ถูกต้อง ? เป็นรายวิชาที่นักเรียนเลือกเรียนได้ตามความถนัด
7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมใดที่เพิ่มเติมในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ?
กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและสาธารณประโยชน์
8. สิ่งใดกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ไม่สามารถปรับหรือเพิ่มเติมได้เมื่อไปจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา? ตัวชี้วัด
9. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับประถมศึกษากำหนดให้มีเวลาเรียนทั้งสิ้นไม่เกินกี่ชั่วโมงต่อปี ?
1,000 ชั่วโมง/ปี
10. ข้อใดกล่าวถึงรายวิชาเพิ่มเติมไม่ถูกต้อง ? เป็นรายวิชาที่นำตัวชี้วัดจากหลักสูตรแกนกลางมาใช้
11. บุคลใดมีหน้าที่โดยตรงในการจัดทำโครงสร้างรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ? ครูผู้สอนประจำรายวิชา
12. ผู้ลงนามในประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาคือบุคลใด ? ผู้บริหารสถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษา
13. ขั้นตอนแรกในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ? แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน
14. บุคคลใดเกี่ยวข้องในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาน้อยที่สุด ? นักการเมือง
15. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีในการใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ? ช่วยให้ครูไม่ต้องประเมินผลครบทุกตัวชี้วัด
16. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดโครงสร้างรายวิชา ? เกณฑ์การประเมิน
17. ในหน่วยการเรียนรู้ การที่จะทำให้นักเรียนมีมาตรฐานตามตัวชี้วัดข้อใดคือสิ่งสำคัญที่สุด ? กิจกรรมการเรียนรู้
18. หัวใจของการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษาสู่ชั้นเรียนคือข้อใด ? โครงสร้างรายวิชา
19. ผู้นำสำคัญในการสร้างบรรยากาศของการร่วมคิดร่วมวางแผน ร่วมทำหลักสูตรสถานศึกษาคือข้อใด ? ผู้บริหารสถานศึกษา
20. ข้อใดไม่เกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรในการทำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ?
จัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องส่งเสริมการสร้างเครือข่าย
21. ข้อใดไม่ใช่การส่งเสริม สนับสนุน การใช้หลักสูตรระดับสถานศึกษา ? การนิเทศ กำกับติดตาม
22. ขั้นตอนแรกของการพัฒนาบุคลากรคือข้อใด ? แต่งตั้งคณะทำงานด้านการพัฒนาบุคลากร
23. กิจกรรมใดเกี่ยวกับการสนับสนุนทางวิชาการของสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ น้อยที่สุด ?
การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพ
24. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักของการวิจัยในชั้นเรียน? เพื่อจัดทำสื่อและหาประสิทธิภาพ
25. การประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาควรมุ่งเน้นการประเมินเรื่องใดที่สำคัญที่สุด ?
คุณภาพของผู้เรียนทั้งผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
26. การวิจัยในชั้นเรียนนั้นครูควรเริ่มต้นจากสิ่งใดก่อนข้ออื่น ? เลือกปัญหาที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อผู้เรียนมากที่สุด
27. นิเทศ ติดตาม การใช้หลักสูตรมีจุดประสงค์สำคัญที่สุดคือข้อใด ? นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่หลักสูตรกำหนด
28. กระบวนการนิเทศ ติดตาม ข้อใดไม่ควรใช้ในสถานศึกษา ? ผู้บริหารกำหนดวิธีการในการนิเทศติดตาม
29. ในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามุ่งพัฒนาคุณภาพด้านใดมากที่สุด ? ผู้เรียน
30. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นหลักที่เกี่ยวข้องในการประเมินผลการใช้หลักสูตร ? เทคนิคและทักษะการสอนของครู
Utq 214 ทัศนศิลป์ ได้ 25 คะแนน
ตอบลบ1. ตัวมาตรฐานในหลักสูตรสาระแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ดนตรีนาฏศิลป์ ข้อใดเหมือนกัน
มาตรฐานข้อ 2
2. ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีต่อผู้เรียน
เพื่อส่งเสริมให้เป็นผู้สืบทอดศิลปะในฐานะศิลปิน
3. เนื้อหาข้อใดในหลักสูตรที่ใช้ในการเรียนการสอนทัศนศิลป์ทุกระดับชั้น
ทัศนธาตุ
4. ในการสอนทัศนศิลป์ ข้อใดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภาพลายไทยจิตรกรรมฝาผนัง
5. คำว่า พหุศึกษา (Arts Education) หมายถึงข้อใด
กระบวนการศึกษาจากการบูรณาการความคิดและการสร้างสรรค์ โดยการเลือกการแสดงออกที่หลากหลาย แสดงออกอย่างใดอย่างหนึ่งอาจเป็นสื่อสี สื่อวัตถุ สื่อร่างกาย สื่อเสียง สื่อภาษา
6. ข้อใดเป็นข้อดีของการจัดการเรียนการสอนแบบพหุศิลปศึกษา
ผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถเรียนรู้ได้เต็มตามความแตกต่างของบุคคล โดยเลือกการสร้างสรรค์หรือการแสดงออกที่หลากหลายตามความถนัด ส่งเสริมและปลูกฝังศิลปะนิสัยที่ดีผู้เรียนสามารถเลือกกระบวนการ แสดงออกอย่างอิสระ
7. พหุศิลปศึกษาเชิงแบบแผน (DBAE) ตรงกับข้อใด
การมุ่งพัฒนากระบวนการเรียนการสอนศิลปะในระบบโรงเรียนให้เด็กได้รับประสบการณ์ทั้ง 4 ด้าน
8. การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาระทัศนศิลป์ ควรประเมินอย่างไร
ประเมินขบวนการทำงาน และตรวจผลงานสำเร็จของเด็ก
9. ความคิดสร้างสรรค์อยู่ในมิติใดของการคิด
การคิดแบบอเนกนัย
10. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
การคิดอเนกนัย
11. ถ้าจะกำหนดหัวข้อในการวาดภาพส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ควรเลือกหัวข้อใด
แดนมหัศจรรย์ที่ฉันอยากไป
12. กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ควรมีลักษณะใด
แสดงออกได้หลายรูปแบบ
13. บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ควรนึกถึงสิ่งใดมากที่สุด
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
14. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ควรนึกถึงสิ่งใดมากที่สุด
การจัดบรรยากาศเพื่อสร้างแรงจูงใจ
15. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ DBAE
ความคิดสร้างสรรค์
16. ข้อใดเป็นประโยชน์สูงสุขของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการรูปแบบ DBAE
ช่วยให้การสร้างสรรค์ผลงานมีความสมบูรณ์ขึ้น
17. ประโยชน์สูงสุดของการเรียนทัศนศิลป์คือข้อใด
ประยุกต์ใช้ทัศนศิลป์ในชีวิตประจำวันได้
18. การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ควรเริ่มต้นจากที่ใด
ศิลปะท้องถิ่น
19. สุนทรียภาพเกี่ยวข้องกับสิ่งใดมากที่สุด
ประสบการณ์และการรับรู้
20. ข้อใดเรียงลำดับการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ได้ถูกต้อง
บรรยาย วิเคราะห์โครงสร้าง ตีความ ประเมินตัดสิน
21. เป้าหมายสำคัญของการจัดการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้แก่ข้อใด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
22. จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้ความสำคัญในเรื่องใด
การจัดการเรียนรู้ให้มีความยืดหยุ่นและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
23. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดตัวชี้วัดไว้กี่ประเภท
2 ประเภท ตัวชี้วัดชั้นปี (ป.1-ม.3) และตัวชี้วัดช่วงชั้น (ม.4-ม.6)
24. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ตรงกับข้อใด
สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียนจุดหมาย
25. ลักษณะเด่นของการจัดการเรียนรู้แบบพหุศิลปศึกษา เป็นอย่างไร
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้และความสามารถทางการเรียนรู้ที่มีอยู่ในตัวผู้เรียน
26. ลักษณะเด่นของการจัดการเรียนรู้แบบพหุศิลปศึกษาตามแนวคิดและทฤษฎีพหุปัญญา ของฮาเวิร์ด การ์ดเนอร์ว่าด้วยความฉลาดและเชาว์ปัญญาภายในตัวของมนุษย์ที่แตกต่างกัน 8 ด้าน มีความเหมาะสมอย่างไร
ผู้สอนสามารถใช้สื่อใกล้ตัวมาเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตามความสามารถ
27. การจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดพหุศิลปศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้ให้เชื่อมโยงกับภูมิปัญญาไทยได้อย่างไร
สัมภาษณ์ผู้สูงอายุ
28. ข้อใดเป็นลักษณะของลัทธิหลังสมัยใหม่
ให้ความสำคัญกับการบูรณาการความคิดในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ใช้สื่ออย่างอิสระ เทคนิคหลากหลาย
29. การจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดพหุศิลปศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้ให้เชื่อมโยงกับภูมิปัญญาไทยได้อย่างไร
สัมภาษณ์ผู้สูงอายุ
30. ข้อใดเป็นลักษณะของลัทธิหลังสมัยใหม่
ให้ความสำคัญกับการบูรณาการความคิดในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ใช้สื่ออย่างอิสระเทคนิคหลากหลาย
ดนตรีแบบทดสอบหลังฝึกอบรม
ตอบลบได้ 28 คะแนน
1. องค์ประกอบของดนตรีควรหมายถึงข้อใด
หลักการทางดนตรีเป็นการนำเอาส่วนประกอบทางดนตรีมาจัดการเรียนรู้
2. เทคนิควิธีการทางดนตรี หมายถึงข้อใด
การนำเอาเสียงของดนตรีมาพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะและความคิดสร้างสรรค์ดนตรี
3. วิชาดนตรีในโรงเรียนตามหลักสูตรปัจจุบันหมายถึงข้อใด
เป็นสาระหนึ่งใน 3 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
4. องค์ประกอบทางดนตรี ได้แก่ข้อใด
เสียง, จังหวะ, ทำนอง
5. คุณค่าความสำคัญของดนตรีช่วยให้เกิดคุณลักษณะได้แก่ผู้เรียนมากที่สุด
รักหวงแหนวัฒนธรรมภูมิปัญญาทางดนตรี
6. “วงบัวลอย” เป็นการประสมแบบพิเศษจะใช้บรรเลงเฉพาะในงานข้อใด
งานศพ
7. บทเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 ที่ใช้ในพิธีสวนสนามของทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ เป็นเพลงประเภทใด
8. ข้อใดเป็นบทเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9
ชะตาชีวิต แสงเทียน แผ่นดินของเรา
9. “ตรีมูรติ” มหาเทพ 3 องค์ คำตอบในข้อใดไม่ถูกต้อง
พระอินทร์
10. เจ้าฟ้าที่มีความสามารถเป็นเลิศด้านดนตรี, นาฏศิลป์, จิตรกรรม และงานช่าง
สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานนริศรานุวัดติวงศ์
11. ข้อใดมีความหมายว่า “Conductor”
ผู้อำนวยเพลง
12. เทคโนโลยีด้านวงจรอิเล็คทรอนิคส์ในการสังเคราะห์เสียงระหว่างเสียงเดิมกับเสียงแปลกใหม่ๆตรงกับคำตอบในข้อใด
ซินธิไซเซอร์ (Synthesizen)
13. ภาพวาดเรื่อง”โหมโรง” สร้างขึ้นจากชีวประวัติของผู้ใด
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
14. King of Pop ตรงกับคำตอบในข้อใด
Michael Jackson
15. ดนตรีที่มีความสัมพันธ์กับธุรกิจและบันเทิงเกิดขึ้นตามสมัยนิยม คือดนตรีในข้อใด
Popular music
16. ทำนองเพลง / ---ด /-ดดด / -ด-/ ระดับเสียงของทำนองเพลงข้างต้นสื่อถึงลายเส้นทางศิลปะในข้อใด
เส้นตรง
17. เพลงเขมรไทรโยค ทรงนิพนธ์โดยอาศัยทัศนียภาพเมื่อครั้งตามเสด็จ รัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จพระราชดำเนิน ณ จังหวัดใด
จังหวัดกาญจนบุรี
18. จากพระราชนิพนธ์เพลงไทรโยค ในด้านวรรณศิลป์สามารถสะท้อนอารมณ์ความรู้สึกในด้านใด
ชื่นชมในความงามจากธรรมชาติ
19. เครื่องดนตรีไทยประเภทใดที่สามารถเลียนแบบเสียงปักษาได้อย่างเหมาะสม
เครื่องเป่า
20. คำว่า ทรัยแอด Em, G+, G จะมีตัวโน๊ตตัวใดเหมือนกัน
G และ B
21. เสียงสายเปล่าสายเอกของซออู้ สำหรับบรรเลงในวง เครื่องสายเครื่องเดียว ตรงกับข้อใด
เสียงต่ำสุดมือบน ของ ขลุ่ยเพียงออ
22. การบรรเลงเพลงช้า – สองไม้ – เร็ว –ลา เป็นเอกลักษณ์ของเพลงประเภทใด
เพลงเรื่อง
23. คำว่า “กรอ” เป็นวิธีการบรรเลงของเครื่องดนตรีชนิดใด
ระนาดทุ้ม
24. เพลงหน้าพาทย์ เพลงใดใช้บรรเลงตอนสุครีพจัดทัพ
เพลงปฐม
25. เพลงใดใช้สำหรับการฝึกพื้นฐานนาฏศิลป์
เพลงช้า เพลงเร็ว
26. วงดนตรีที่เหมาะจะใช้กับพิธีการหลั่งน้ำสังข์ในงานมงคลสมรส คือข้อใด
วง มโหรี
27. แต่เดิมมาเสภาไม่มีการบรรเลงดนตรีประกอบ ต่อมาได้มีการบรรเลงดนตรีประกอบขึ้นในสมัยรัชกาลใด
รัชกาลที่ 2
28. จากโจทย์ที่กำหนด เมื่อพลิกกลับจะได้ขั้นคู่ในข้อใด
คู่ 5 Perfect
29. “เสียงที่เปล่งออกมาเป็นทำนอง ทำให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์คล้อยตามความหมายของเพลง” เป็นความหมายของคำในข้อใด
คีตศิลป์
30. ข้อใดจัดว่าเป็นการรักษาเส้นเสียง (Vocal cord ) ได้เหมาะสมที่สุด
การนอนพักผ่อนให้เพียงพอ
UTQ208 ภูมิศาสตร์ ก่อนเรียน-หลังเรียนเหมือนกัน
ตอบลบได้ 28 คะแนน
1.ก เป็นพลเมืองดี - เป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน
2.ค ศาสนา หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
3.ง เน้นให้มีความรู้เพื่อการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมในฐานะเป็นพลเมืองดี
4.ง พัฒนาตนเองเพื่อความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
5.ค จัดหลักสูตรเพื่อสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเกี่ยวกับสังคม
6.ง ทำเลที่ตั้ง สถานที่
7.ข เศรษฐศาสตร์
8.ก การศึกษาความสอดคล้องระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
9.ข ชาวอียิปต์สร้างเขื่อน
10.ง อธิบายสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลก
11.ก ในเขตร้อน อินทรียวัตถุในดินสลายตัวเร็วขึ้น
12.ก ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์
13.ง แม่น้ำ กระแสน้ำ
14.ข ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
15.ง ชาวมองโกเลียเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน
16.ข อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน
17.ค ฝนน้ำแข็ง
18.ค มีดินตะกอนที่อุดมสมบูรณ์
19.ก แผนที่ ภาพจากดาวเทียม อินเทอร์เน็ต
20.ข ที่ราบลุ่มแม่น้ำแอมะซอน
21.ข สีแดงและสีดำ
22.ค การศึกษาข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาและสมุทรศาสตร์
23.ข เป็นระบบที่จัดทำอย่างมีประสิทธิภาพ
24.ก การจัดทำเป็นวิทยาศาสตร์
25.ก บุคลากร
26.ค ใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
27.ก การสอนโดยใช้โครงงาน
28.ข เรียนรู้จากสภาพจริง เรื่องใกล้ตัว
29.ค กำหนดประเด็น > วางแผนและการเตรียมการ
30.ง เป็นการสกัดกั้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เฉลยข้อสอบ utq 204 (ได้ 28 คะแนนค่ะ)
ตอบลบ1.ข้อใดเป็นคุณภาพของผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ตอบ การแก้ปัญหา
2. ตาราง กราฟ สมการ นิพจน์ อสมการ เป็นตัวอย่างของคำอภิธานศัพท์ในข้อใด
ตอบ ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model)
3. ข้อใดเป็นหัวใจของการใช้หลักสูตรในระดับชั้นเรียน
ตอบ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
4. ข้อใดเป็นขั้นตอบแรกของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยใช้ Backward Design
ตอบ กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
5. ครูอัญชลีสาธิตประกอบการใช้คำถาม เพื่อสรุปเกี่ยวกับการหาปริมาตรของพีระมิด ครูอัญชลีจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบใด
ตอบ การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
6. เมื่อนักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ปัญหา สามารถเขียนปัญหาโดยใช้ภาพ ตาราง หรือกราฟ หรือเขียนความสัมพันธ์ของตัวแปรในรูปของความสามารถในทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ข้อใด
ตอบ การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
7. สาระที่ครูต้องสอดแทรกลงในกระบวนการจัดการเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้คือสาระใด
ตอบ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
8. การดำเนินการทดลองหรือกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ เป็นการจัดการเรียนรู้รูปแบบใด
ตอบ การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
9. การจัดการเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้าควรใช้วิธีการใดเหมาะสมที่สุด
ตอบ นักเรียนทำโครงงานคณิตศาสตร์
10. กระบวนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน ขั้นตอนใดสำคัญที่สุด
ตอบ วางแผนแก้ปัญหา
11. การจัดการเรียนรู้ข้อใดเหมาะสำหรับการพัฒนานักเรียนให้สามารถสร้างความรู้และนำความรู้ไปใช้
ตอบ วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา
12. การสอนจากทฤษฏีหรือกฎไปสู่ตัวอย่างที่เป็นรายละเอียดฝึกให้ผู้เรียนมีเหตุผลไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่มีการพิสูจน์ให้เห็นจริงเป็นอย่างไร
ตอบ วิธีสอนแบบนิรนัย
13. การเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ TGT คล้ายกับรูปแบบใด
ตอบ STAD
14. ข้อใดถูกต้อง
ตอบ เป็นจำนวนตรรกยะ
15. ข้อใดกล่าวถูกต้องในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ
ตอบ ครูกล่าวว่า “จำนวนคู่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ได้ลงตัว”
16. ข้อใดถูกต้อง
ตอบ เป็นเอกนาม
17. สื่อทางคณิตศาสตร์ข้อใดไม่เข้าพวก
ตอบ บทเรียนการ์ตูน
18. โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) จัดเป็นสื่อประเภทใด
ตอบ สื่อเทคโนโลยี
19. สื่อสิ่งพิมพ์ที่ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ ตัวอย่าง แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นสื่อประเภทใด
ตอบ เอกสารประกอบการเรียนการสอน
20. ข้อใดมีโครงสร้าง ส่วนประกอบ และจุดประสงค์การเรียนรู้คล้ายกับบทเรียนสำเร็จรูป
ตอบ บทเรียนการ์ตูน
21. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ตอบ สื่อสื่อแวดล้อม เช่น เครื่องฉาย
22. สื่อประเภทใดเหมาะสมกับการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ที่ต้องการให้เห็นกระบวนการและวิธีการอย่างเป็นขั้นตอน
ตอบ สื่อวีดิทัศน์
23. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ตอบ หากนักเรียนไม่พอใจผลการประเมินคุณภาพของภาระงาน/ชิ้นงานระหว่างเรียนสามารถขอแก้ไขปรับปรุงได้
24. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ตอบ การวัดและประเมินผลรวมของแต่ละหน่วยต้อใช้ข้อสอบเท่านั้น
25. เครื่องมือที่ช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้ดีคือข้อใด
ตอบ ภาระงาน
26. การประเมินเพื่อวิเคราะห์ความพร้อมพื้นฐานความรู้ ความสนใจของนักเรียนควรอยู่ในขั้นตอนใด
ตอบ ก่อนเรียน
27. ภาระงานต่อไปนี้ควรมีการประเมินทั้งขั้นตอนวิธีการทำงานและการประเมินผลงานยกเว้นข้อใดที่อาจประเมินเฉพาะคุณภาพของผ
ตอบ กราฟ แผนผังความคิด
28. ข้อใดเป็นการประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียนรู้
ตอบ คุณครูสงบสอบเมื่อสอนจบหน่วยการเรียนรู้
29. การประเมินผลการเรียนการสอนของครูคนใดเหมาะสมที่สุด
ตอบ ขณะที่นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ ครูประทินสังเกต ซักถาม บันทึกแล้ววิเคราะห์ข้อมูล
30. หลักฐานการเรียนรู้ข้อใดไม่เข้าพวก
ตอบ การทำแฟ้มสะสมงาน
utq-101 หลักสูตรแกนกลาง ได้ 25 คะแนนค่ะ
ตอบลบ1.ข.จริงเพราะโรงเรียนเป็นผู้อนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษาได้เอง
2.ข.หลักสูตรเน้นเนื้อหา->หลักสูตรอิงมาตรฐาน
3.ค.ระดับประถมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมทุกระดับชั้น
4.ข.มาตรฐานการเรียนรู้
5.ข.สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
6.ค.คณะครูและผู้บริหารสถานศึกษา
7.ค.กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
8.ก.ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี
9.ง.แนะแนวกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ
10.ค.จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
11.ก.คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
12.ง.เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน
13.ง.เพื่อวินิจแยความรู้ความสามารถของผ้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด
14.ง.นักเรียนมีคุณภาพ
15.ค.คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
16.ก.ส่วนกลางกำหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ซึ่งเป็นเป้าหมายการวัดประเมินผลแต่ละระดับชั้น
17.ข.เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน
18.ข.มาตรฐานการเรียนรู้
19.ง.หน่วยการเรียนรู้
20.ก.กำหนดรายวิชาที่จัดสอนแต่ละปี/ภาคเรียน เวลาเรียนหรือหน่วยกิจ
21.ง.มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง
22.ค.กิจกรรมไหว้ครู
23.ค.มาตรฐานการเรียนรู้กล่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2 สาระ
24.ง.แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารี หรือผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคม
25.ข.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
26.ค.เกณฑ์การจบหลักสูตรสถานศึกษา กับ เกณฑ์การตัดสิน
27.ง.เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน
28.ค.ใช้การประเมินเป็นกลไกในการพัฒนา ช่วยเหลือผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย
29.ก.การประเมินเชิงคุณภาพ
30.ก.ระดับชั้นเรียน
utq 201 ได้ 28 คะแนน
ตอบลบ1. ข้อใดที่ผู้พูดใช้ประโยคความซ้อน
แม่ครัวไปหาเพื่อนที่อยู่ที่ตลาด
2. ข้อใดมีองค์ประกอบของพยางค์เหมือนกันทุกคำ
พลาย ความ เกรง
3. ข้อใดมีเสียงสระของทุกพยางค์เป็นสระเดี่ยว
เธอคือคนแสนดี
4. ข้อใดประกอบด้วยสระที่ออกเสียงสั้นทั้งหมด
เด็กคนนั้นขยันจริง ๆ
5. ข้อใดมีวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
แม้แตกร้าวรายร่อยถอยราคา
6. ข้อใดใช้สำนวนไม่ถูกต้อง ทำผิดแล้วไม่ต้องมานั่งแก้ตัวหรอก เดี๋ยวคนเขาก็จะว่าเอาว่ากินปูนร้อนท้อง
7. คำประสมในข้อใดทำหน้าที่อย่างคำนามทุกคำ เข็มกลัด น้ำหวาน หน้าผา
8. คำประพันธ์นี้มีรสวรรณคดีใด
นารีปราโมทย์
9. “เป็นหมาวัดริจะเด็ดดอกฟ้าอย่าหวังเลย” กลวิธีทางวรรณศิลป์ คือข้อใด สัญลักษณ์
10. ข้อใดกล่าวถึงคำประพันธ์ต่อไปนี้ได้ถูกต้องชัดเจนที่สุด
ฉากหรือบรรยากาศในเรื่องทำให้ผู้อ่านเข้าใจอารมณ์ของกวีได้อย่างลึกซึ้ง
11. การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ควรอยู่ในขั้นใด การทำหน่วยการเรียนรู้
12. การพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เกิดขึ้นในกิจกรรมการเรียนรู้ในข้อใด การวิเคราะห์ลักษณะนิสัย จุดเด่น จุดด้อย ของกระต่าย
13. ตัวชี้วัดที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับ 2551 ทำหน้าที่คล้าย/ ทดแทน สิ่งใด ผลการเรียนที่คาดหวัง
14. ข้อใดเป็นสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะของผู้เรียน วัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
15. กิจกรรมใดเหมาะสมกับการพัฒนาทักษะการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสารของผู้เรียนที่เหมาะสมที่สุดกับนักเรียน ป. 4 - 6 การเขียนเรียงความ
16. ถ้ามีสาระการเรียนรู้มากจนสอนไม่ทัน ท่านคิดว่าวิธีการในข้อใดเหมาะสมที่สุด รวมเนื้อหาที่คล้ายกันมาจัดกิจกรรมร่วมกัน
17. คำถามใดที่ส่งเสริมการสรุปและสร้างองค์ความรู้เรื่องมาตราตัวสะกด วิธีการใดที่ช่วยจัดหมวดหมู่มาตราตัวสะกด
18. วิธีการใดมีความเหมาะสมน้อยที่สุด ในการประเมินตามสภาพจริง การทดสอบย่อยก่อนเรียนและหลังเรียน
19. 2 5 3 4 1
20. ข้อใดเป็นประโยชน์สูงสุดของการสอนแบบสะกดคำ การอ่านกับการเขียนสัมพันธ์กัน
21. ข้อใดเป็นผลของการอ่านที่แสดงว่าผู้อ่าน อ่านเป็น สามารถเลือกหนังสืออ่านได้ตามความสนใจ
22. การที่ครูให้นักเรียนอ่านบทเรียนพร้อมกันทั้งชั้นทุกระดับชั้นตั้งแต่ ป.1-6 พฤติกรรมดังกล่าวส่งผลเสียต่อคุณภาพผู้เรียนข้อใดมากที่สุด นักเรียนไม่ได้รับการฝึกอ่านในใจที่ถูกวิธี
23. ข้อใดเป็นกิจกรรมหลังการอ่านที่เน้นการอ่านเพื่อความเข้าใจขั้นสูงที่สุด การวิจารณ์คุณค่าที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
24. ข้อใดเป็นหัวใจของการสอนวรรณคดี การสร้างนิสัยรักการอ่านแก่ผู้เรียน
25. การแสดงประกอบการเรียนวรรณคดีในชั้นเรียนระดับประถมศึกษารูปแบบใดเหมาะสมน้อยที่สุด ละครแบบมีพิธีการ
26. คำถามข้อใดที่ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคน คิดคล่อง จงบอกชื่อผลไม้ที่ขึ้นต้นว่า มะ มาให้มากที่สุดในเวลา 3 นาที
27. ข้อใดเรียงลำดับถูกต้องตามลำดับขั้นของความรู้ในการเขียน จัดข้อมูล โยงความคิดกับการเขียน การแบ่งย่อหน้า การสรุปเรื่อง
28. ข้อใดจัดหมวดหมู่ตัวอักษรไม่ถูกต้อง ง ธ ร ว
29. “นักเรียนสามารถระบุชื่อหนังสือที่ตนสนใจอ่านได้” ข้อความนี้สอดคล้องกับข้อใด ผู้เรียนมีพัฒนาการถึงขั้นสร้างรสนิยมในการอ่าน
30. ข้อใดเป็นคำถามที่ใช้ระดับสมองตามทฤษฎีของ Bloom ในขั้นที่สูงกว่าข้ออื่นๆ ถ้ากระต่ายไม่นอนหลับ เต่าจะมีโอกาสชนะกระต่ายหรือไม่ อย่างไร
UTQ-215 นาฏศิลป์ ได้ 22 คะแนน
ตอบลบ1. ตัวมาตรฐานในหลักสูตรสาระแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาระทัศนศิลป์ ดนตรีนาฏศิลป์ข้อใดเหมือนกัน
-มาตรฐานข้อ 1 และข้อ 3
2. ในการออกแบบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรุ้เรื่องรำวงมาตรฐาน ข้อใดเป็นผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่สำคัญที่สุด
-สามารถอธิบายที่มาของรำวงมาตรฐานได้
3. ในการออกแบบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ละครสร้างสรรค์ ข้อใดเป็นสาระสำคัญที่สำคัญที่สุด
-ละครสร้างสรรค์จะประสบผลสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย
4. กิจกรรมที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ควรมีลักษณะอย่างไร
-เกิดจากการร่วมคิดร่วมทำของครูและนักเรียน
5. ข้อใดเรียงลำดับการวิจารณ์ผลงานนาฏศิลป์ได้ถูกต้อง
-บรรยาย วิเคราะห์รูปแบบ ตีความ ประเมินตัดสิน
6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของนาฏศิลป์
-ผู้แสดง – ผู้ชม
7. แสดงวิวัฒนาการข้อใดแสดงถึงวิวัฒนาการของการแสดงละครไทยที่ชัดเจน
-จากละครนอก – ละครพันทาง
8. ข้อใดเป็นการแสดงที่เป็นมาตรฐาน
-ระบำเทพบันเทิง
9. ท่านเป็นครูสอนวิชานาฏศิลป์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ท่านควรสอนนาฎศิลป์ชุดใด
-ฟ้อนเงี้ยว
10. ข้อใดแสดงว่านักเรียนมีสุนทรียภาพทางนาฏศิลป์
-สามารถอธิบายลักษณะการแสดงละครในและสาธิตท่ารำได้
11. ข้อใดไม่ใช้ประเภทของภาษาท่านาฎศิลป์ไทย
-ประเภทท่าที่แสดงบรรดาศักดิ์
12. การยกเท้าที่อยู่ข้างหลังแล้วกระแทกจมูกเท้าลงที่พื้น ด้านหลังคือท่ารำในข้อใด
-กระทุ้ง
13. ข้อใดเป็นความหมายของนาฏศิลป์
-ศิลปะแห่งการละครฟ้อนรำ
14. ก่อนการรำวงมาตรฐานผู้แสดงควรปฏิบัติอย่างไร
-ทำความเคารพด้วยการไหว้
15. รำแม่บทเล็ก เป็นชุการการแสดงในบทละครเรื่องใด
-รามเกียรติ์
16. เพลงเพิ่มต้นของการำแม่บทเล็ก คือเพลงอะไร
-เพลงรัว
17. ชื่อบุคคลใดเป็นบรมครูทางนาฎศิลป์ของวิทยาลัยนาฎศิลป์
-คุณครูลมุล ยมะคุปต์
18. ในเรื่องเทคนิคการจัดการแสดงหัวข้อใดสื่อให้ผู้ชมทราบถึงยุคสมัยมากที่สุด
-เครื่องแต่งกาย
19. ละครโอเปร่าเกิดขึ้นในศตวรรษที่เท่าไร
-ศตวรรษที่ 16
20. สิ่งใดที่แสดงว่า “นาฏศิลป์ไทยเป็นศิษย์มีครู”
-ผู้สอนนาฏศิลป์ได้รับการครอบครู รับมอบ
21. ข้อใดคือความหมายของการวิจัย
-การศึกษาหาความรู้อย่างมีระบบโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
22. การศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เป็นการวิจัยประเภทใด
-วิจัยทดลอง
23. จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง “การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์” ข้อใดคือจุดประสงค์หรือความมุ่งหมายในการวิจัย
-ความคิดเห็นของนักเรียน
24. จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง “การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์” ข้อใดคือตัวแปรต้นในการวิจัย
-การเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์
25. จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง “การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์” ข้อใดคือตัวแปรตามในการวิจัย
-ความคิดเห็นของนักเรียน
26. ถ้านักเรียนเข้าสอบปลายภาคในรายวิชานาฏศิลป์ จำนวน 25 คน สอบตก 5 คน คิดเป็นนักเรียนสอบได้ร้อยละเท่าไร
-80
27. ถ้านักเรียนหนีเรียน หรือไม่เข้าเรียนบ่อย ๆ เราควรกำหนดหัวข้อในการวิจัยเกี่ยวกับอะไร
-พฤติกรรมของนักเรียน
28. ข้อใดคืองานวิจัยทางการศึกษา
-การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
29. จากแผนภูมิผลการทดสอบย่อยรายวิชานาฏศิลป์ต่อไปนี้ การสอบครั้งที่เท่าไร ที่มีนักเรียนสอบผ่านน้อยที่สุด
-ครั้งที่ 5
30. จากแผนภูมิผลการทดสอบย่อยรายวิชานาฏศิลป์ต่อไปนี้ การสอบครั้งที่เท่าไร ที่มีนักเรียนสอบไม่ผ่านน้อยที่สุด
-ครั้งที่ 1
utq205 วิทยาศาสตร์ป.1-3 ได้ 24 คะแนน
ตอบลบ1. ข้อใด ไม่พบ ในจุดหมายของหลักสูตร
ประกอบอาชีพสุจริต
2. ข้อใดเป็นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ถูกทุกข้อ
3. “ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง” พบอยู่ในข้อใดของหลักสูตร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. ข้อใดที่สถานศึกษาร่วมกันจัดทำขึ้นมา
โครงสร้างรายวิชา
5. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ได้ถูกต้อง 1. กิจกรรรมการเรียนรู้ 2. เป้าหมายเรียนรู้ 3. หลักฐานการเรียนรู้
2 3 1
6. ข้อใดไม่พบ ในโครงสร้างรายวิชา
การวัดผลและประเมินผล
7. “ทดลองสมบัติของดินชนิดต่างๆ” จัดอยู่ในสาระใด
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
8. ข้อใดบอกความหมายของรหัส ว 5.1 ป.2/2 ได้ถูกต้อง
สาระที่ 5
9. “เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ ดวงอาทิตย์และดวงดาว” คือคุณภาพของผู้เรียนในข้อใด
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
10. “ทดลองและอธิบายท่อลำเลียงและปากใบของพืช” ข้อความนี้จะพบได้ที่ส่วนใดของหลักสูตรแกนกลาง
มาตรฐาน
11. ข้อใดเป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
การสังเกต
12. จากตารางข้างบนนี้ นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะใด ทักษะการจำแนก
13. “วัฏจักรชีวิตของยุง” จากแผนภูมข้างบนนี้ เกี่ยวข้องกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะใด
การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
14. กิจกรรมในข้อใด ที่นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
สำรวจพืชดอกในโรงเรียน
15. “นักเรียนปฏิบัติการทดลอง เรื่อง ในดินมีน้ำ” กิจกรรมนี้อยู่ในขั้นตอนใด ของการสืบเสาะหาความรู้ที่พัฒนา ขั้นสำรวจและค้นหา
16. ข้อใดเป็นประโยชน์ของแผนการจัดการเรียนรู้
เตรียมการไว้ล่วงหน้า
17. การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์มาจากข้อใด
หลักสูตรแกนกลาง
18. จุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์มาจากข้อใด ตัวชี้วัด
19. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนต่อไป ควรเป็นข้อใด สื่อและแหล่งเรียนรู้
20. ผู้ที่บันทึกผลหลังสอนในแผนการจัดการเรียนรู้คือข้อใด
ครูผู้สอน
21. “สารละลายไอโอดีน ” จัดเป็นสื่อประเภทใด สื่อของจริง
22. “ดินในแต่ละแห่ง มีลักษณะแตกต่างกัน” ท่านจะเลือกแหล่งเรียนรู้ในข้อใด
ห้องสมุด
23. “สถานที่ในแต่ละแห่ง อุณหภูมิจะแตกต่างกัน ” ท่านจะเลือกใช้อุปกรณ์ชนิดใด เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนของท่าน
เทอร์มอมิเตอร์
24. จากข้อ 23 ท่านจะเลือกแหล่งเรียนรู้ในข้อใด
บริเวณต่างๆ ในโรงเรียน
25. สื่ออุปกรณ์ใด ควรใช้อย่างระมัดระวัง
ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
26. ข้อใด ไม่ใช่ จุดมุ่งหมายหลักของการวัดผลและประเมินผล
เพื่อทำผลงาน
27. ข้อใด เป็นการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน
เกิดขึ้นก่อนเรียน ขณะเรียน และสิ้นสุดการเรียน
28. ข้อใดเป็นแนวทางการวัดผลและประเมินผล ถูกทุกข้อ
29. ข้อใดเป็นเครื่องมือในการวัดผล ถูกทุกข้อ
30. ข้อใด ไม่เป็น แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผล
บันทึกของครู
ข้อสอบหลังเรียน UTQ 203 คณิตศาสตร์ ชุดใหม่
ตอบลบประถมศึกษา ได้26 คะแนน
1. ค. การประเมินผล /ข้อใดไม่ใช่....
2. ข. การจัดการเรียนรู้...พัฒนาการทางสมอง /หลักการสำคัญ
3. ก. มีความคิดริเริ่ม /ข้อใดเป็นคุณภาพ
4. ง. ถูกทั้ง กข ค /รูปแบบ
5. ข.มาตรฐาน
6. ง. ทักษะกระบวนการ
7. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
8. ก ความรู้พื้นฐาน
9. ก. มาตรฐานเป็นเป้าหมาย
10. ง. ถูก ก ข ค
11.ค การเรียนรู้จากการทดลอง
12. ข. ผู้บริหาร สภาพแวดล้อม
13. ค. ฝึกให้คิด
14. ง. ถูกทุกข้อ
15. ก. ทำความเข้าใจ แผน ดำเนิน ตรวจ
16. ข.เปิดโอกาส
17. ค กระบวนการเชื่อมโยง
18. ง. นำคณิตไปใช้
19. ข. สืบเสาะความรู้
20. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
21. ข. สาระ 1 มฐ 1 ป 1 ช้อ 2
22.ข. ปฏิบัติจริง
23. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
24. ค. เปรียบเทียบ
25. ข. สอดคล้อง
26. ง. แบบทดสอบ
27. ก. ศึกษาเอกสาร
28. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
29. ง. ถูกทั้ง ก ข ค
30. ข. ใช้สื่อด้วยตนเอง
UTQ 106 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ได้ 28 คะแนน
ตอบลบ1.ง .จากงานที่ปฏิบัติเป็นประจำ
2.ข.ผู้วิจัยมีความสนใจอย่างแท้จริง
3.ก ไม่กวางมาก
4.ก.การพัฒนาบทเรีนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ระบบสุริยะ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6
7.ค. ครู ค รณรงค์การทิ้งขยะในโรงเรียนให้เป็นที่สม่ำเสมอ
8.ก. การสอนแบบโครงงาน
7.ค. ชื่อเรื่อง ความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน
8.ข.ขอบเขตการวิจัย
9.ข.การสังเคราะห์แสงของพืช
10.ก.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนต้นไม้ ปีการศึกษา 2553 จำนวน 6 ห้องเรียน 240 คน
11.ก.วิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่าง
12.ค.ศึกษากลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
13.ง.สมมติฐานการวิจัย
14.ก.แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
15.ก.แบบบันทึกเวลาเรียน
16.ง.ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
17.ง.ความน่าเชื่อถือ
18.ก.KR-20
19.ข.แบบทดสอบคู่ขนาน
20.ข.ค่าประสิทธิภาพ
21.ข.t-test
22.ข.ส่วนนำ-ส่วนเนือหา-ส่วนอ้างอิง
23.ก.บทที่ 1 บทนำ
24.ค.บทคัดย่อ
25.ข.บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
26.ข.วัตถุประสงค์การวิจัย
27.ง.บทคัดย่อ
28.ง.ใช้ในการป้องกันเหตุความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในคดีความ
29.ง.ครู นักเรียน ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และประชาชนทั่วไป
30.ค.S.D.
1. ข้อใดคือความหมายของหลักสูตรสถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ตอบลบก . หลักสูตรของแต่ละสถานศึกษาที่เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้กำหนดให้
ข. คือหลักสูตรที่จัดขึ้นเป็นไปตามความสนใจ ความต้องการของผู้ปกครอง
xค. หลักสูตรที่มีการนำปัญหา เอกลักษณ์ชุมชนมากำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
ง. มวลประสบการณ์ที่กำหนดไว้ในประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้
2. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์สำหรับเด็กปฐมวัย หมายถึงข้อใด
ก. มาตรฐานที่ สมศ. กำหนดในการประเมินเด็กปฐมวัย
ข. มาตรฐานที่กำหนดไว้ในหลักสูตรและสาระการเรียนรู้
ค. มาตรฐานที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในแต่ละท้องที่เป็นผู้กำหนด
xง. มาตรฐานของหลักสูตรที่ครอบคลุมคุณภาพของผู้เรียนเป็นองค์รวม
3. การพัฒนาแบบองค์รวมหมายถึงข้อใด
ก. การพัฒนาผู้เรียนในห้องเรียนแต่ละห้องไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง
ข. การพัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึงการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
x ค. การพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญา
ง. การพัฒนาผู้เรียนโดยบูรณาการการเล่น การเรียน และการเลี้ยงดูไปพร้อมกัน
4. สาระการเรียนรู้ หมายถึงข้อใด
ก. เนื้อหาสาระที่เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้
x ข. สาระที่เด็กควรเรียนรู้ และประสบการณ์สำคัญ
ค. สาระที่เด็กควรรู้ สาระที่เด็กอยากรู้ และสาระที่เด็กรู้แล้ว
ง. สาระการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
5. ข้อใด มิใช่ หลักการในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย
ก. จัดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ข. ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการฟัง จับต้อง สัมผัส และดมกลิ่น
ค. จัดให้เด็กได้เล่น ได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ และได้การพักผ่อน
x ง. เตรียมเด็กให้สามารถอ่านออก เขียนได้ พร้อมเรียนในระดับประถมศึกษา
6. ข้อใดเป็นข้อความที่ ไม่ ถูกต้อง
ก. ต้องนำสาระการเรียนรู้มาจัดในลักษณะหน่วยการสอน
xข. สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
ค. ประสบการณ์สำคัญเป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม
ง. ทักษะที่เด็กต้องเรียนรู้มีหลากหลาย ให้บูรณาการการสอนไปพร้อมๆกัน
7. ข้อใด มิใช่ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
x ก. มีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
ข. มีความสามารถใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ค. มีความสามารถในการคิด และแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับวัย
ง. อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
8. การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวัน ต้องครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง
ก. มีการวางแผน เด็กมีส่วนร่วม สอดคล้องกับพัฒนาการ
x ข. พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ ด้านสังคม และสติปัญญา
ค. การพัฒนาการคิด พัฒนาการด้านภาษา ความคิดสร้างสรรค์
ง. การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์หลักสูตร และการประเมินพัฒนาการ
9. ข้อใดเป็นการกำหนด+++ส่วนเวลาในการพัฒนาเด็กแต่ละวันที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัย 5 ปี
ก. กิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ วันละประมาณ 60 นาที
ข. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 20 นาที
ค. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 40 นาที
x ง. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน วันละประมาณ 60 นาที
10. คุณลักษณะตามวัย ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องมากที่สุด
ก. เป็นเรื่องที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติกับทุกคน
xข. ครูจัดการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามวัยไปพร้อมๆกัน
ค. ในช่วงปฐมวัยควรเป็นการพัฒนาคุณลักษณะด้านร่างกายก่อน
ง. พัฒนาเด็กแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
11. ข้อใด คือความหมายที่ชัดเจนที่สุดของคำว่าพหุปัญญา
ตอบลบก. ความสามารถในการคิดที่หลากหลาย ข. ความสามารถในการคิด อ่าน และเขียน
xค. ความสามารถของสติปัญญาทั้ง 8 ด้านของมนุ
ง. กระบวนการทำงานของสมองในการวิเคราะห์ สังเคราะห์
12. ในช่วงปฐมวัยสมองส่วนใดกำลังพัฒนา
ก. สมองส่วนหน้า xข. สมองส่วนกลาง
ค. สมองส่วนหลัง ง.สมองซ้าย-ขวา
13. หน้าต่างแห่งการเรียนรู้มีความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กอย่างไร
xก. การจัดห้องเรียนให้มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย
ข. การจัดกิจกรรม ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
ค. เด็กปฐมวัยมีความอยากรู้ ช่างสงสัย ต้องเปิดโอกาสให้เด็กซักถาม สืบค้น ทดลอง
ง. ออกแบบห้องเรียนให้มีหน้าต่างในระดับสายตาเด็กเพื่อการศึกษาภายนอกได้สะดวก
14. สภาวะใดที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ก. ปล่อยให้เด็กเล่นอิสระ มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งของ
ข. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและความสามารถอย่างอิสระ
ค. วางแผนการพัฒนา กำกับดูแลการปฏิบัติ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
xง. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงานร่วมกัน
15. เพราะเหตุใดครูจึงควรคำนึงถึงธรรมชาติการทำงานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา
xก. เพราะสมองสองซีกมีหน้าที่ที่ต่างกัน
ข. เพราะสมองแต่ละซีกมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
ค. เพราะสมองของเพศ หญิง ชาย มีความแตกต่างกัน
ง. เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความสามารถ ความถนัดที่แตกต่างกัน
16. ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ขั้นตอนใดที่จะระบุนวัตกรรมที่ต้องการใช้สอดแทรกลงได้
ก. ขั้นวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ ข. ขั้นวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา
ค. ขั้นเขียนแผนการจัดประสบการณ์ x ง. ขั้นกำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์
17. สิ่งใดที่ควรคำนึงถึง เมื่อจะกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดประสบการณ์
ก. ประสบการณ์สำคัญ ข. พัฒนาการด้านที่ต้องการพัฒนา
ค. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ x ง. ความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ
18. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
ก. สติปัญญา ข.ครอบครัว ค.สิ่งแวดล้อม xง.โรคทางพันธุกรรม
19. ข้อใด คือประโยชน์ของการจัดทำบันทึกหลังการจัดประสบการณ์ ที่ถูกต้องที่สุด
ก. เป็นการรายงานผลการสอนของครู ข. เป็นการรายงานผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ค. เป็นการบันทึกเหตุการณ์การจัดประสบการ
xง. เป็นการวิเคราะห์และรายงานผลการจัดประสบการณ์
20. มุมกิจกรรมเสรีในข้อใดที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้บทบาทของบุคคล
ก. มุมบล็อก ข. มุมหนังสือ x ค. มุมบทบาทสมมติ ง. มุมกิจกรรมสร้างสรรค์
21. มุมประสบการณ์ใดที่สามารถปรับเปลี่ยนให้ความสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ได้น้อยที่สุด
ตอบลบxก. มุมบล็อก ข. มุมหนังสือ ค. มุมธรรมชาติ ง. มุมบทบาทสมมติ
22. ครูคนใดใช้วิธีการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้น้อยที่สุด
ก.ครูสมศรีออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านการเล่น ข. ครูสมปองให้เด็กลงมือปฏิบัติ ทดลอง และสืบค้นข้อมูล
x ค.ครูสมบัติให้เด็กทำแบบฝึก ลีลามือ และแบบฝึกเสริมทักษะ
ง. ครูสมใจให้เด็กมีส่วนร่วมในการกำหนดหน่วยและเรื่องที่อยากเรียนรู้
23. นวัตกรรมในข้อใดที่จะนำมาช่วยพัฒนาผู้เรียนโดยตรง
ก. ไฮ-สโคป ข. แฟ้มสะสมงาน ค. การศึกษาชั้นเรียน x ง. การสอนภาษาธรรมชาติ
24. ข้อใดคำนึงถึงหลักการจัดสภาพแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัยมากที่สุด
ก. ความมีอิสระในการเล่นของเด็ก ข. ความสะดวกของครูในการจัดชั้นเรียน
x ค. ความสะอาด สะดวก และปลอดภัย ง. ความสวยงาม ความคงทนของวัสดุที่นำมาใช้ในการจัด
25. ครูปฐมวัยในข้อใดจัดมุมบล็อกได้ถูกต้องมากที่สุด
ก. ครูติ๊ก จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ห้องน้ำ xข. ครูต้อย จัดมุมบล็อกห่างจากมุมหนังสือ
ค. ครูตู่ จัดมุมบล็อกไว้ใกล้ผู้เรียนมากที่สุด ง. ครูต๋อย จัดมุมบล็อกไว้หลังห้องไกลจากสายตายครู
26. การจัดมุมในกิจกรรมเสรีในข้อใดสอดคล้องกับการเล่นบทบาทสมมติ
x ก. มุมร้านค้า มุมหมอ มุมบ้าน ข. มุมหมอ มุมธรรมชาติ มุมร้านค้า
ค. มุมบ้าน มุมบล็อก มุมธรรมชาติ ง. มุมหมอ มุมหนังสือ มุมบล๊อก
27. พฤติกรรมของครูคนใด จัดเป็นการพัฒนาสื่อได้อย่างเหมาะสม
ก. ครูเปิ้ล รักษาความสะอาดและซ่อมแซมสื่อ x ข. ครูปุ๋ย ซ่อมแซม และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
ข.ครูป้อม ปรับปรุง และรักษาความสะอาดของสื่อ ค. ครูปุ้ม รักษาความสะอาด และจัดวางสื่อให้เป็นระเบียบ
28. ข้อใดเป็นวิธีการประสานความร่วมมือแบบสองทางระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชนได้ดีที่สุด
ก. การเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นรายบุคคล
ข. การส่งจดหมายถึงผู้ปกครองและชุมชน
xค. การเชิญชวน ผู้ปกครองร่วมกิจกรรมและรับฟังข้อเสนอแนะ
ง. การเชิญ หมอ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ร่วมแก้ปัญหาเด็ก
29. ปรัชญาของการเสริมสร้างพลังความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
x ก. ความเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมาย
ข. ความรับผิดชอบของสถานศึกษาตามภารกิจที่กำหนด
ค. ความสำเร็จตามจุดประสงค์ของการจัดประสบการณ์
ง. ความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
30. ข้อใดลำดับเหตุการณ์ในการเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ เหมาะสมที่สุด
x ก. สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม
ข. สร้างความตระหนัก สร้างการรับรู้ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นการรวมกลุ่ม
ค. กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างความตระหนัก สร้างแรงบันดาลใจ สร้างการรับรู้
ง. สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนัก กระตุ้นการรวมกลุ่ม สร้างการรับรู้
รวมเว็ปไซต์หลักสูตร UTQ
ตอบลบUTQ-102 การบริหารหลักสูตร
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/4/course_wares/UTQ-102/unit1/unit_index.html
UTQ-103 การประกันคุณภาพการศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/6/course_wares/UTQ-103/unit1/unit_index.html
UTQ-104 การสอนแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กและห้องเรียนคละชั้น
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/8/course_wares/UTQ-104/unit3/unit_index.html
UTQ-105 การบูรณาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
http://www2.utqonline.in.th/ftp_users/10/course_wares/UTQ-105/unit3/unit_index.html
UTQ-106 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/12/course_wares/UTQ-106/unit1/unit_index.html
UTQ-107 การจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/14/course_wares/UTQ-107/unit2_2/unit_index.html
UTQ-201 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย:ภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษา
http://www1.utqonline.in.th/ftp_users/16/course_wares/UTQ-201/unit3/unit_index.html
UTQ-203 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์:คณิตศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/19/course_wares/UTQ-203/unit2/unit_index.html
UTQ-204 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์:คณิตศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/22/course_wares/UTQ-204/unit1/unit_index.html
UTQ-205 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 3
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/24/course_wares/UTQ-205/unit3/unit_index.html
UTQ-207 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 - 3
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/27/course_wares/UTQ-207/unit5/unit_index.html
UTQ-208 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม: การสอนภูมิศาสตร์
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/30/course_wares/UTQ-208/unit2/unit_index.html
UTQ-210 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม: วิชาเศรษฐศาสตร์ (เน้นเศรษฐกิจพอเพียง)
http://www.utqonline.in.th/knowledge_base_page/list/17
UTQ-211 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา: การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/36/course_wares/UTQ-211/unit1/unit_index.html
UTQ-212 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา: การพัฒนาองค์ความรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/39/course_wares/UTQ-212/unit1/unit_index.html
UTQ-213 สาระการเรียนรู้ศิลปะ: ดนตรีศึกษา
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/41/course_wares/UTQ-213/unit1/unit_index.html
UTQ-215 สาระการเรียนรู้ศิลปะ:นาฏศิลป์
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/45/course_wares/UTQ-215/unit4/unit_index.html
UTQ-217 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ: การพัฒนาความสามารถทางภาษา(Language Proficiency)
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/49/course_wares/UTQ-217/unit2/unit_index.html
UTQ-218 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ: การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กลุ่มสาระเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ) สู่การปฏิบัติ
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/49/course_wares/UTQ-218/unit1/unit_index.html
UTQ-219 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน: การพัฒนาระบบแนะแนว
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/52/course_wares/UTQ-219/unit1/unit_index.html
UTQ-220 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/54/course_wares/UTQ-220/unit1/unit_index.html
UTQ-221 ปฐมวัย: การศึกษาปฐมวัย
http://www1.utqonline.in.th/ftp_users/56/course_wares/UTQ-221/unit1/unit_index.html
UTQ-222 บรรณารักษ์: การจัดการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/58/course_wares/UTQ-222/unit5/unit_index.html
UTQ-223 การศึกษาพิเศษ: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ-การศึกษาพิเศษ
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/61/course_wares/UTQ-223/unit1/unit_index.html
UTQ-224 การศึกษาพิเศษ: ความรู้ในการปฏิบัติงานของครูการศึกษาพิเศษ
http://www.utqonline.in.th/ftp_users/63/course_wares/UTQ-224/unit4/unit_index.html
มีความเอื้อเฟื้อกับเพื่อนครูด้วยกัน เป็นคนดีมากๆครับ
ตอบลบขอให้มีความสุขและความเจริญในชีวิตตลอดไปนะครับ