ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

29 พฤศจิกายน 2553

UTQ-207 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

                 UTQ-207 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                 วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

เข้าศึกษาตามเว็ปข้างล่างนี้ค่ะ


http://www.utqonline.in.th/ftp_users/27/course_wares/UTQ-207/unit1/unit_index.html

     ข้อสอบ utq 207 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

คำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 

1. มุมมองทางวิทยาศาสตร์ที่น่าเชื่อถือได้ มีลักษณะอย่างไร
1.เป็นกลวิธีที่สนับสนุนการสืบเสาะหาความรู้ของนักเรียน
2. การสืบเสาะหาความรู้เป็นวิธีการที่ทำให้ได้ความจริงแท้
3.ธรรมชาติที่มีความ กว้างเกินกว่าที่จะมีเครื่องมือตรวจสอบหรือรับรู้
4.จัดว่าเป็นความสามารถใน การสืบเสาะหาความรู้
1 2 3
1 2 4 ***
2 3 4
1 2 3 4

2. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ลักษณะของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
1.การสอนวิทยาศาสตร์ทุกเรื่อง ใช้กระบวนการสืบเสาะได้
2.เป็นการสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการเรียน รู้
3.จะใช้คำถามของนักเรียนเป็นจุดเริ่มต้นการเรียน
4.ครูจะเป็นผู้แนะนำและ เริ่มต้นการเรียนรู้
1 3 ***
1 2 3
1 3 4
1 2 3 4

3. ข้อใด ไม่เป็น องค์ประกอบที่สำคัญในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

การตรวจสอบต้องมีพยานหลักฐานที่สอดคล้องกับคำถาม
การอธิบายคำตอบจะต้องอยู่บนความมีเหตุผล
การอธิบายคำตอบจะต้องอยู่บนความรู้ในช่วงเวลานั้น ๆ ***
คำถามจะเป็นตัวบ่งชี้คำตองอย่างเป็นระบบ

4. ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ไม่มีอำนาจ หมายความว่าอย่างไร .

แหล่งความรู้มีการเปลี่ยนแปลงได้
ทฤษฎีใหม่อาจถูกยอมรับได้เมื่อมีเหตุผลใหม่ที่เพียงพอ ***
ผู้คิดค้นหาคำตอบได้หลายคน
ระยะเวลาที่เกิดวิทยาศาสตร์อย่างรุนแรงทำให้กระแสต้องยอมรับได้

5. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยตรง จะต้อง

ต้องใช้กระบวนการคิดและทักษะการปฏิบัติ ***
เป็นทักษะทางปัญญาที่ต้องใช้ความรู้จากเนื้อหาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
เป็นทักษะการใช้ชีวิตที่เกิดจากการฝึกฝน
เป็นทักษะที่ชัดเจนและเป็นขั้นตอน

6. “ต้นถั่วเขียวเจริญเติบโตงอกงามดีในที่มีแสงสว่าง” จากข้อความที่กำหนดให้
เป็นการสืบเสาะหาความรู้แบบใด
การสืบเสาะหาความรู้แบบมีขั้นตอน
การสืบเสาะหาความรู้แบบกำหนดวิธีการ
การสืบเสาะหาความรู้แบบกำหนดแนวทางให้
การสืบเสาะหาความรู้แบบอิสระ ***

7 จงอ่านตัวชี้วัดต่อไปนี้ “ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์” แล้วให้ขีดใต้ คำ/ข้อความ ที่เป็นความรู้และวงกลม
ล้อมรอบ ข้อความที่เป็นคุณลักษณะ คำตอบข้อใดถูก
วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“นำความรู้ไปใช้ประโยชน์” ***
วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี”
ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ทดลอง อธิบาย และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์”
ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี”

8 คำถามที่จะสะท้อนประสบการณ์ ให้นักเรียนแสดงลำดับขั้นตอน ควรเป็นคำถามใด

วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง ***
 กระแสไฟฟ้าเกิดได้อย่างไร
นักเรียนวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์ได้กี่โวลต์
จงแสดงความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า

9 การวิจัยและการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ของนักวิทยาศาสตร์ เพื่อหน่วยงานอื่น
เช่นภาคอุตสาหกรรม มูลนิธิ ฯลฯ จัดว่าเป็นภาระของนักวิทยาศาสตร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
เป็น เพราะเป็นการช่วยเหลือและพัฒนางานในองค์กรนั้น ***
เป็น เพราะเป็นการช่วยเหลือสังคมนั้น ๆ ให้รู้จักตัวเองให้ดีขั้น
ไม่เป็น เพราะผิดจรรยาบรรณของนักวิทยาศาสตร์
ไม่เป็น เพราะนักวิทยาศาสตร์น่าจะมีกรอบการดำเนินการในการวิจัยเพื่อพัฒนาหน่วยงานราชการ

10. ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการเรียนรู้ ***
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการคิด

11 จงพิจารณาข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้
1. ระบุสิ่งที่นักเรียนควรรู้
2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
3. ระบุว่าผู้เรียนต้องทำอะไรได้
4. ความต้องการให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ เจตคติ คุณธรรม
5. ระบุข้อมูลสำคัญในการกำหนดองค์ประกอบของหลักสูตรในการวิเคราะห์มาตรฐานการ เรียนรู้
และตัวชี้วัด ครูผู้สอนจะพบคำสำคัญตามข้อใด
ข้อ 2, 4, 5
ข้อ 2, 3, 4
ข้อ 1, 3, 5
ข้อ 1, 3, 4 ***


11. ข้อใดกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551ได้ถูกต้อง
ใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อที่กำหนดเท่านั้น
เลือกใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์บางข้อเท่านั้น
เลือกใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์บางข้อ และสามารถเพิ่มเติมได้ตามที่สถานศึกษาต้องการ
ใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อที่กำหนด และสามารถเพิ่มเติมได้ตามที่สถานศึกษาต้องการ ***

13. จงอ่านมาตรฐานการเรียนรู้ต่อไปนี้ “เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
” แล้วให้ขีดใต้ คำ/ข้อความ ที่เป็นความรู้และวงกลมล้อมรอบ ข้อความที่เป็นทักษะ คำตอบข้อใดถูก
ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ” ***
ขีดเส้นใต้ ข้อความ “กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ”
วงกลมล้อมรอบ ข้อความ “สิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์”

14 ข้อใดกล่าวถึง “หลักสูตรอิงมาตรฐาน” ได้อย่างถูกต้อง

มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ได้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ และคุณลักษณะสำคัญ
สถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและท้องถิ่น

15. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามข้อใดสนับสนุนคำกล่าวที่ว่า “หน่วยการเรียนรู้คือหัวใจของ
หลักสูตรสถานศึกษา”
หน่วยการเรียนรู้จะมีรายละเอียดต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียน
หน่วยการเรียนรู้อิงต้องเนื้อหา การวัดประเมินผลจึงเน้นที่การจดจำเนื้อหาให้ได้มากที่สุด
หน่วยการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย จะนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน ***
มาตรฐานที่เป็นเป้าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ต้องได้มาจากมาตรฐานเพียงข้อเดียวเพื่อไม่ให้สับสน

16. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. ด้านความรู้เนื้อหาวิทยาศาสตร์
2. ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหา
3. ด้านบริบทตัวนักเรียน
4. ธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์
เพื่อให้การออกแบบการเรียนรู้สนองต่อมาตรฐานของหลักสูตรอย่างชัดเจน ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์
จึงควรมีความรู้ด้านใดบ้าง
ข้อ 1, 2
ข้อ 2, 3
ข้อ 3, 4
ข้อ 1, 2, 3 ***

17. ลักษณะการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่ลักษณะที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

หากเดินเข้าไปในห้องเรียน สิ่งแรกที่เห็นจะไม่ใช่ครู เพราะครูนั่งอยู่ในวงกับผู้เรียนในกลุ่ม
หากเดินเข้าไปในห้องเรียน จะเห็นผู้เรียนคนหนึ่งกำลังเตรียมงานโครงการในกลุ่มย่อยโดย
มีการระดมสมองบันทึกไว้บนกระดาน
หากเดินเข้าไปในห้องเรียน เห็นครูกำลังพูด ผู้เรียนทุกคนมองและฟังครู ผู้เรียนจะพูดได้เมื่อครูอนุญาต ***
หากเดินเข้าไปในห้องเรียน จะเห็นผู้เรียนกลุ่มหนึ่งกำลังแสดงผลงานที่กลุ่มพวกเขาออกแบบและจัดทำ

18 ลักษณะที่สำคัญของคำถามแบบสร้างสรรค์คือ
1.คำถามเกิดการ เปรียบเทียบ
2.คำถามที่เกิดการสำรวจ
3.คำถามที่เกี่ยวกับการวัด
4.คำถามสู่การปฏิบัติ
5.คำถามที่ให้นักเรียนตั้ง ปัญหาได้
1 4 5
4 5
1 2 4 5
1 2 3 4 5 ***

19 ถ้าท่านต้องการสอน เรื่อง การลอยการจม โดยท่านมีประเด็นปัญหา เช่น
1.วัตถุที่ลอยเบากว่าวัตถุที่จมเสมอไปหรือไม่
2. วัตถุที่ยาวจะลอยได้ดีกว่าวัตถุที่สั้นใช่หรือไม่
3. วัตถุลอยในน้ำตื้นดีกว่าลอยในน้ำลึกใช่หรือไม่
จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม เลือกหัวข้อ และเลือกวิธีการที่จะใช้ศึกษาหาความรู้ ดำเนินงานตาม
แผนการที่แต่ละกลุ่มวางไว้ สุดท้ายให้นำเสนอผลงานและร่วมประเมินผล ท่านคิดว่าการดำเนิน
กิจกรรม ดังกล่าวเป็นขั้นตอนที่สอดคล้องกับเทคนิคใด
Jigsaw I
GI ,
โครงงาน ***
TAI

20 จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ เป็นลักษณะเด่นของการคิดด้านใด “ เป็นการคิดที่เน้น
ความมีเหตุผล เน้นคุณค่า เพื่อเป็นทางเลือกที่จะตัดสินใจบนข้อมูลที่มากพอและเชื่อถือได้”
ความคิดวิเคราะห์
ความคิดวิจารณญาณ ***
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์

21 ข้อที่ครูควรคำนึงในการถามคำถามนักเรียน
1.ไม่จำเป็นต้องเตรี ยมการมากเพราะคำถามจะเกิดจากสถานการณ์เฉพาะหน้า
2.ต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียน
3.ควรเป็นคำถามที่เน้นความรู้ก่อน เพื่อจะเป็นแนวทางในการถามคำถามที่ทำให้นักเรียนคิดสร้างสรรค์
แล้วลงสู่การ ปฏิบัติได้
4.กระชับ เข้าใจง่าย เหมาะสมกับวัยของนักเรียน
2 4
2 3
2 3 4 ***
1 2 3 4

22. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นบทบาทของครูที่เหมาะสม ในขั้นสำรวจค้นหา
ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry base Learning)
ฟังและสังเกตการโต้ตอบกันของนักเรียน ***
ส่งเสริมให้นักเรียนอธิบายอย่างหลากหลาย
จัดหาคำตอบให้นักเรียนไว้เป็นหมวดหมู่
อธิบายหรือบอก เมื่อนักเรียนทำไม่ถูกต้อง

23. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นบทบาทของนักเรียนที่ไม่เหมาะสม ในขั้นขยายความรู้
ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry base Learning)
ทำงานโดยหลีกเลี่ยงการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
อธิบายโดยไม่สนใจข้อมูลหรือหลักฐาน ***
อธิบายเหมือนกับสิ่งที่ครูจัดเตรียมไว้ให้
บันทึกข้อมูลโดยตรวจสอบความเข้าใจกับเพื่อน

24. การเลือกเทคนิค/ กลวิธีสอนเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการเรียนการสอน ผู้สอนต้องพิจารณา
อย่างรอบคอบ ท่านคิดว่าข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เหตุผลหลักที่ใช้ในการเลือกเทคนิค/กลวิธี สอน
สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนการสอน
เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน
เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ
สอดคล้องกับความทันสมัยและความนิยมของสังคม ***


25 จากข้อความต่อไปนี้ “ ขมิ้นชันเป็นพืชล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีเหลืองเข้มใช้ประโยชน์
ได้หลายอย่าง ขยายพันธ์โดยใช้เหง้าฝังดิน ในหน้าแล้งใบจะเหี่
ยวพอฝนตกจะแตกใบใหม่
ส่วนที่ใช้ทำสมุนไพรคือเหง้า เพราะมีสารพิษพวกน้ำมันหอมระเหย” ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่ได้จากการสังเกต
ขมิ้นชันมีเหง้าอยู่ใต้ดิน
เหง้ามีสีเหลืองเข้ม
ในหน้าแล้งใบจะเหี่
ยวพอฝนตกจะแตกใบใหม่
มีสารพิษพวกน้ำมันหอมระเหย ***

26 ถ้าครูแดง ต้องการศึกษาว่า “ส่วนใดของสะเดาที่ใช้ผลิตเป็นสารฆ่าแมลงได้ดีที่สุด
” สิ่งที่ครูแดง ต้องจัดให้แตกต่างกันในการทดลองนี้คืออะไร
ส่วนของสะเดาที่นำมาทดลอง ***
ปริมาณน้ำที่ใช้ผสมสารละลาย
ชนิดและจำนวนแมลงที่ใช้ทดลอง
ปริมาณแสงและความชื้นในบริเวณทดลอง

27 ในการวัดความสูงของต้นถั่วเขียว ที่ปลูกไว้ในแปลงเกษตร จำนวน 185 ต้น
ได้ผลดังตารางแสดงความสูงของต้นถั่วเขียวการแปลความจากข้อมูลข้อใดถูกต้อง


การสำรวจพบว่าต้นถั่วเขียวส่วนใหญ่มีความสูง 50-100 เซนติเมตร
ถ้ามีการเก็บตัวอย่างมากกว่านี้ข้อมูลจะถูกต้องมากขึ้น
การสำรวจพบว่าความสูงเฉลี่ยของต้นถั่วเขียวสูงกว่า 100 เซนติเมตร ***
ถ้ามีการสำรวจต้นถั่วเขียวชนิดเดียวกันที่ปลูกวันเดียวกันก็จะให้ผลเช่นนี้

28 ถ้าจะทดลองว่า “ความลึกในการเพาะเมล็ดพืชในดินมีผลต่อการงอกของเมล็ดหรือไม่
” สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกันในการทดลองนี้คืออะไร
ชนิดของเมล็ดพืชที่นำมาเพาะและภาชนะที่ใช้เพาะ
ภาชนะที่ใช้เพาะ ตำแหน่งและลักษณะการวางเมล็ดพืช
ตำแหน่งและลักษณะการวางเมล็ดพืช ภาชนะที่ใช้เพาะ
สิ่งแวดล้อมที่วางภาชนะที่เพาะเมล็ดและชนิดของเมล็ดพืช ***

29. ในการแข่งขันหาปริมาตรของวัตถุ ได้มีการจัดเครื่องมือและวัตถุต่างๆ ให้ดังนี้
วัตถุให้ : 1=น้ำเกลือ 2=แท่งไม้ 3=ก้อนหิน
เครื่องมือให้ : 4=ถ้วยยูรีกา 5=กระบอกตวง 6=ไม้บรรทัด
ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับวัตถุที่ต้องการหาปริมาตร การเลือกในข้อใดถูกต้องที่สุด
1-5 2-4,5 3-6
1-5 2-6 3-4,5  ***
1-4,5 2-6 3-4
1-6 2-5 3-4,5

30.นิยามในข้อใด เหมาะสมที่จะเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการ

ก. แคลอรี คือ หน่วยวัดปริมาณความร้อน
ขเป็ด เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง มีสองขา ไม่สามารถบินได้ ***
ขนาดของคน คือความสูงที่วัดได้
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแก๊สไม่มีสี


หมายเหตุ   ข้อที่สุดจะทำเครื่องหมาย  ***

                               ได้ 23  คะแนน






















.



14 ความคิดเห็น:

  1. utq 207



    แบบทดสอบก่อนการฝึกอบรม(Pre-test)
    หมายเหตุได้ 23 คะแนน ข้อที่ถูก *****

    คำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

    1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ลักษณะของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
    1.การสอนวิทยาศาสตร์ทุกเรื่อง ใช้กระบวนการสืบเสาะได้
    2.เป็นการสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการเรียน รู้
    3.จะใช้คำถามของนักเรียนเป็นจุดเริ่มต้นการเรียน
    4.ครูจะเป็นผู้แนะนำและ เริ่มต้นการเรียนรู้
    1 3 ***
    1 2 3
    1 3 4
    1 2 3 4

    2. มุมมองทางวิทยาศาสตร์ที่น่าเชื่อถือได้ มีลักษณะอย่างไร
    1.เป็นกลวิธีที่สนับสนุนการสืบเสาะหาความรู้ของนักเรียน
    2. การสืบเสาะหาความรู้เป็นวิธีการที่ทำให้ได้ความจริงแท้
    3.ธรรมชาติที่มีความ กว้างเกินกว่าที่จะมีเครื่องมือตรวจสอบหรือรับรู้
    4.จัดว่าเป็นความสามารถใน การสืบเสาะหาความรู้
    1 2 3
    1 2 4 ****
    2 3 4
    1 2 3 4

    3. ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ไม่มีอำนาจ หมายความว่าอย่างไร .

    แหล่งความรู้มีการเปลี่ยนแปลงได้
    ทฤษฎีใหม่อาจถูกยอมรับได้เมื่อมีเหตุผลใหม่ที่เพียงพอ ****
    ผู้คิดค้นหาคำตอบได้หลายคน
    ระยะเวลาที่เกิดวิทยาศาสตร์อย่างรุนแรงทำให้กระแสต้องยอมรับได้

    4. ข้อใด ไม่เป็น องค์ประกอบที่สำคัญในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

    การตรวจสอบต้องมีพยานหลักฐานที่สอดคล้องกับคำถาม
    การอธิบายคำตอบจะต้องอยู่บนความมีเหตุผล
    การอธิบายคำตอบจะต้องอยู่บนความรู้ในช่วงเวลานั้น ๆ ****
    คำถามจะเป็นตัวบ่งชี้คำตองอย่างเป็นระบบ

    5. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยตรง จะต้อง

    ต้องใช้กระบวนการคิดและทักษะการปฏิบัติ ****
    เป็นทักษะทางปัญญาที่ต้องใช้ความรู้จากเนื้อหาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
    เป็นทักษะการใช้ชีวิตที่เกิดจากการฝึกฝน
    เป็นทักษะที่ชัดเจนและเป็นขั้นตอน

    6. คำถามที่จะสะท้อนประสบการณ์ ให้นักเรียนแสดงลำดับขั้นตอน ควรเป็นคำถามใด

    วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง****
    กระแสไฟฟ้าเกิดได้อย่างไร
    นักเรียนวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์ได้กี่โวลต์
    จงแสดงความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า

    7. “ต้นถั่วเขียวเจริญเติบโตงอกงามดีในที่มีแสงสว่าง” จากข้อความที่กำหนดให้
    เป็นการสืบเสาะหาความรู้แบบใด
    การสืบเสาะหาความรู้แบบมีขั้นตอน
    การสืบเสาะหาความรู้แบบกำหนดวิธีการ
    การสืบเสาะหาความรู้แบบกำหนดแนวทางให้
    การสืบเสาะหาความรู้แบบอิสระ ****

    8. การวิจัยและการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ของนักวิทยาศาสตร์ เพื่อหน่วยงานอื่น
    เช่นภาคอุตสาหกรรม มูลนิธิ ฯลฯ จัดว่าเป็นภาระของนักวิทยาศาสตร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
    เป็น เพราะเป็นการช่วยเหลือและพัฒนางานในองค์กรนั้น *****เป็น เพราะเป็นการช่วยเหลือสังคมนั้น ๆ ให้รู้จักตัวเองให้ดีขั้น
    ไม่เป็น เพราะผิดจรรยาบรรณของนักวิทยาศาสตร์
    ไม่เป็น เพราะนักวิทยาศาสตร์น่าจะมีกรอบการดำเนินการในการวิจัยเพื่อพัฒนาหน่วยงานราชการ

    9. จงพิจารณาข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้
    1. ระบุสิ่งที่นักเรียนควรรู้
    2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
    3. ระบุว่าผู้เรียนต้องทำอะไรได้
    4. ความต้องการให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ เจตคติ คุณธรรม
    5. ระบุข้อมูลสำคัญในการกำหนดองค์ประกอบของหลักสูตรในการวิเคราะห์มาตรฐานการ เรียนรู้
    และตัวชี้วัด ครูผู้สอนจะพบคำสำคัญตามข้อใด
    ข้อ 2, 4, 5
    ข้อ 2, 3, 4
    ข้อ 1, 3, 5
    ข้อ 1, 3, 4 *****

    10. ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    พุทธศักราช 2551
    ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา
    ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
    ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการเรียนรู้ ****
    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการคิด

    ตอบลบ
  2. 11. ข้อใดกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    พุทธศักราช 2551ได้ถูกต้อง
    ใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อที่กำหนดเท่านั้น
    เลือกใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์บางข้อเท่านั้น
    เลือกใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์บางข้อ และสามารถเพิ่มเติมได้ตามที่สถานศึกษาต้องการ
    ใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อที่กำหนด และสามารถเพิ่มเติมได้ตามที่สถานศึกษาต้องการ ****

    12. ข้อใดกล่าวถึง “หลักสูตรอิงมาตรฐาน” ได้อย่างถูกต้อง

    มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ****
    มาตรฐานการเรียนรู้ได้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ และคุณลักษณะสำคัญ
    สถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
    มาตรฐานการเรียนรู้สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและท้องถิ่น

    13. จงอ่านมาตรฐานการเรียนรู้ต่อไปนี้ “เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
    มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
    ” แล้วให้ขีดใต้ คำ/ข้อความ ที่เป็นความรู้และวงกลมล้อมรอบ ข้อความที่เป็นทักษะ คำตอบข้อใดถูก
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ” ****
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ”
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ “สิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์”

    14. จงอ่านตัวชี้วัดต่อไปนี้ “ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ
    เกิดปฏิกิริยาเคมี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์” แล้วให้ขีดใต้ คำ/ข้อความ ที่เป็นความรู้และวงกลม
    ล้อมรอบ ข้อความที่เป็นคุณลักษณะ คำตอบข้อใดถูก
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“นำความรู้ไปใช้ประโยชน์” ****
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี”
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ทดลอง อธิบาย และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์”
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี”

    15. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามข้อใดสนับสนุนคำกล่าวที่ว่า “หน่วยการเรียนรู้คือหัวใจของ
    หลักสูตรสถานศึกษา”
    หน่วยการเรียนรู้จะมีรายละเอียดต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียน
    หน่วยการเรียนรู้อิงต้องเนื้อหา การวัดประเมินผลจึงเน้นที่การจดจำเนื้อหาให้ได้มากที่สุด
    หน่วยการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย จะนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน ****
    มาตรฐานที่เป็นเป้าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ต้องได้มาจากมาตรฐานเพียงข้อเดียวเพื่อไม่ให้สับสน

    16. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
    1. ด้านความรู้เนื้อหาวิทยาศาสตร์
    2. ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหา
    3. ด้านบริบทตัวนักเรียน
    4. ธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์
    เพื่อให้การออกแบบการเรียนรู้สนองต่อมาตรฐานของหลักสูตรอย่างชัดเจน ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์
    จึงควรมีความรู้ด้านใดบ้าง
    ข้อ 1, 2
    ข้อ 2, 3
    ข้อ 3, 4
    ข้อ 1, 2, 3 ****
    17. ลักษณะการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่ลักษณะที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน สิ่งแรกที่เห็นจะไม่ใช่ครู เพราะครูนั่งอยู่ในวงกับผู้เรียนในกลุ่ม
    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน จะเห็นผู้เรียนคนหนึ่งกำลังเตรียมงานโครงการในกลุ่มย่อยโดย
    มีการระดมสมองบันทึกไว้บนกระดาน
    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน เห็นครูกำลังพูด ผู้เรียนทุกคนมองและฟังครู ผู้เรียนจะพูดได้เมื่อครูอนุญาต ****
    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน จะเห็นผู้เรียนกลุ่มหนึ่งกำลังแสดงผลงานที่กลุ่มพวกเขาออกแบบและจัดทำ

    18. ถ้าท่านต้องการสอน เรื่อง การลอยการจม โดยท่านมีประเด็นปัญหา เช่น
    1.วัตถุที่ลอยเบากว่าวัตถุที่จมเสมอไปหรือไม่
    2. วัตถุที่ยาวจะลอยได้ดีกว่าวัตถุที่สั้นใช่หรือไม่
    3. วัตถุลอยในน้ำตื้นดีกว่าลอยในน้ำลึกใช่หรือไม่
    จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม เลือกหัวข้อ และเลือกวิธีการที่จะใช้ศึกษาหาความรู้ ดำเนินงานตาม
    แผนการที่แต่ละกลุ่มวางไว้ สุดท้ายให้นำเสนอผลงานและร่วมประเมินผล ท่านคิดว่าการดำเนิน
    กิจกรรม ดังกล่าวเป็นขั้นตอนที่สอดคล้องกับเทคนิคใด
    Jigsaw I
    GI ,
    โครงงาน ****
    TAI

    19. ลักษณะที่สำคัญของคำถามแบบสร้างสรรค์คือ
    1.คำถามเกิดการ เปรียบเทียบ
    2.คำถามที่เกิดการสำรวจ
    3.คำถามที่เกี่ยวกับการวัด
    4.คำถามสู่การปฏิบัติ
    5.คำถามที่ให้นักเรียนตั้ง ปัญหาได้
    1 4 5
    4 5
    1 2 4 5
    1 2 3 4 5 ****

    ตอบลบ
  3. 20. ข้อที่ครูควรคำนึงในการถามคำถามนักเรียน
    1.ไม่จำเป็นต้องเตรี ยมการมากเพราะคำถามจะเกิดจากสถานการณ์เฉพาะหน้า
    2.ต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียน
    3.ควรเป็นคำถามที่เน้นความรู้ก่อน เพื่อจะเป็นแนวทางในการถามคำถามที่ทำให้นักเรียนคิดสร้างสรรค์
    แล้วลงสู่การ ปฏิบัติได้
    4.กระชับ เข้าใจง่าย เหมาะสมกับวัยของนักเรียน
    2 4
    2 3
    2 3 4 ****
    1 2 3 4

    21. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ เป็นลักษณะเด่นของการคิดด้านใด “ เป็นการคิดที่เน้น
    ความมีเหตุผล เน้นคุณค่า เพื่อเป็นทางเลือกที่จะตัดสินใจบนข้อมูลที่มากพอและเชื่อถือได้”
    ความคิดวิเคราะห์
    ความคิดวิจารณญาณ ****
    ความคิดสร้างสรรค์
    ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์

    22. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นบทบาทของครูที่เหมาะสม ในขั้นสำรวจค้นหา
    ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry base Learning)
    ฟังและสังเกตการโต้ตอบกันของนักเรียน ****
    ส่งเสริมให้นักเรียนอธิบายอย่างหลากหลาย
    จัดหาคำตอบให้นักเรียนไว้เป็นหมวดหมู่
    อธิบายหรือบอก เมื่อนักเรียนทำไม่ถูกต้อง

    23. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นบทบาทของนักเรียนที่ไม่เหมาะสม ในขั้นขยายความรู้
    ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry base Learning)
    ทำงานโดยหลีกเลี่ยงการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
    อธิบายโดยไม่สนใจข้อมูลหรือหลักฐาน ****
    อธิบายเหมือนกับสิ่งที่ครูจัดเตรียมไว้ให้
    บันทึกข้อมูลโดยตรวจสอบความเข้าใจกับเพื่อน

    24. การเลือกเทคนิค/ กลวิธีสอนเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการเรียนการสอน ผู้สอนต้องพิจารณา
    อย่างรอบคอบ ท่านคิดว่าข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เหตุผลหลักที่ใช้ในการเลือกเทคนิค/กลวิธี สอน
    สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนการสอน
    เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน
    เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ
    สอดคล้องกับความทันสมัยและความนิยมของสังคม ****

    25. ถ้าครูแดง ต้องการศึกษาว่า “ส่วนใดของสะเดาที่ใช้ผลิตเป็นสารฆ่าแมลงได้ดีที่สุด
    ” สิ่งที่ครูแดง ต้องจัดให้แตกต่างกันในการทดลองนี้คืออะไร
    ส่วนของสะเดาที่นำมาทดลอง ****
    ปริมาณน้ำที่ใช้ผสมสารละลาย
    ชนิดและจำนวนแมลงที่ใช้ทดลอง
    ปริมาณแสงและความชื้นในบริเวณทดลอง

    26. จากข้อความต่อไปนี้ “ ขมิ้นชันเป็นพืชล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีเหลืองเข้มใช้ประโยชน์
    ได้หลายอย่าง ขยายพันธ์โดยใช้เหง้าฝังดิน ในหน้าแล้งใบจะเหี่ยวพอฝนตกจะแตกใบใหม่
    ส่วนที่ใช้ทำสมุนไพรคือเหง้า เพราะมีสารพิษพวกน้ำมันหอมระเหย” ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่ได้จากการสังเกต
    ขมิ้นชันมีเหง้าอยู่ใต้ดิน
    เหง้ามีสีเหลืองเข้ม
    ในหน้าแล้งใบจะเหี่ยวพอฝนตกจะแตกใบใหม่
    มีสารพิษพวกน้ำมันหอมระเหย ****

    27. ถ้าจะทดลองว่า “ความลึกในการเพาะเมล็ดพืชในดินมีผลต่อการงอกของเมล็ดหรือไม่
    ” สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกันในการทดลองนี้คืออะไร
    ชนิดของเมล็ดพืชที่นำมาเพาะและภาชนะที่ใช้เพาะ
    ภาชนะที่ใช้เพาะ ตำแหน่งและลักษณะการวางเมล็ดพืช
    ตำแหน่งและลักษณะการวางเมล็ดพืช ภาชนะที่ใช้เพาะ
    สิ่งแวดล้อมที่วางภาชนะที่เพาะเมล็ดและชนิดของเมล็ดพืช ****

    28. ในการวัดความสูงของต้นถั่วเขียว ที่ปลูกไว้ในแปลงเกษตร จำนวน 185 ต้น
    ได้ผลดังตารางแสดงความสูงของต้นถั่วเขียวการแปลความจากข้อมูลข้อใดถูกต้อง


    การสำรวจพบว่าต้นถั่วเขียวส่วนใหญ่มีความสูง 50-100 เซนติเมตร
    ถ้ามีการเก็บตัวอย่างมากกว่านี้ข้อมูลจะถูกต้องมากขึ้น
    การสำรวจพบว่าความสูงเฉลี่ยของต้นถั่วเขียวสูงกว่า 100 เซนติเมตร ****
    ถ้ามีการสำรวจต้นถั่วเขียวชนิดเดียวกันที่ปลูกวันเดียวกันก็จะให้ผลเช่นนี้

    29. นิยามในข้อใด เหมาะสมที่จะเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการ

    แคลอรี คือ หน่วยวัดปริมาณความร้อน
    เป็ด เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง มีสองขา ไม่สามารถบินได้ ****
    ขนาดของคน คือความสูงที่วัดได้
    แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแก๊สไม่มีสี

    30. ในการแข่งขันหาปริมาตรของวัตถุ ได้มีการจัดเครื่องมือและวัตถุต่างๆ ให้ดังนี้
    วัตถุให้ : 1=น้ำเกลือ 2=แท่งไม้ 3=ก้อนหิน
    เครื่องมือให้ : 4=ถ้วยยูรีกา 5=กระบอกตวง 6=ไม้บรรทัด
    ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับวัตถุที่ต้องการหาปริมาตร การเลือกในข้อใดถูกต้องที่สุด
    1-5 2-4,5 3-6
    1-5 2-6 3-4,5 ****
    1-4,5 2-6 3-4
    1-6 2-5 3-4,5

    ตอบลบ
  4. หมายเหตุได้ 23 คะแนน


    1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการกระจายอำนาจให้โรงเรียนมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตร ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร
    ไม่จริงเพราะโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางไม่เปิดช่องให้ปรับตามบริบทเลย
    ***จริงเพราะโรงเรียนเป็นผู้อนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษาได้เอง
    ไม่จริงเพราะสถานศึกษาไม่สามารถกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นได้เอง
    จริงเพราะนักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตามความถนัดและความสามารถ

    2. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นการเปลี่ยนแปลงจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 สู่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

    มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น -> ตัวชี้วัดชั้นปีในการศึกษาภาคบังคับ
    ****หลักสูตรเน้นเนื้อหา -> หลักสูตรอิงมาตรฐาน
    เวลาเรียนรวมแต่ละปี -> เวลาเรียนขั้นต่ำแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
    ประเมินตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง -> ประเมินผลตามตัวชี้วัด

    3. ข้อปฏิบัติใดของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับข้อกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

    ****ระดับประถมศึกษาปรับเวลาเรียนพื้นฐานได้ตามความเหมาะสม
    มัธยมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง
    ระดับประถมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมทุกระดับชั้น
    ต้องจัดกิจกรรมชุมนุมในทุกระดับชั้นในมัธยมศึกษาตอนปลาย

    4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสิ่งใดต่อไปนี้เป็นเป้าหมายสำคัญที่สุดในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

    ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    ***มาตรฐานการเรียนรู้
    สาระการเรียนรู้แกนกลาง 8 กลุ่ม
    หลักการของหลักสูตร

    5. ข้อความที่ปรากฏข้างล่างนี้ เป็นข้อมูลส่วนใดของเอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น


    เป้าหมาย/จุดเน้น
    ****สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
    การประเมินคุณภาพระดับท้องถิ่น
    สาระการเรียนรู้พื้นฐาน

    6. การวางแผนและดำเนินการใช้ วิจัยและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เป็นบทบาท หน้าที่ของใครต่อไปนี้

    ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญของ สพฐ.
    ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการ
    ****คณะครูและผู้บริหารสถานศึกษา
    นักวิชาการ คณาจารย์ สถาบันอุดมศึกษา

    7. ข้อใดต่อไปนี้ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดเพิ่มขึ้น

    สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
    โครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน
    *** กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
    ความต้องการของสถานศึกษาและท้องถิ่น

    8. การจัดเวลาเรียนและการตัดสินผลการเรียนปัจจุบันดำเนินการตามข้อใด

    *** ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี
    มัธยมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี
    มัธยมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค
    ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนละตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค

    9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนข้อใดครอบคลุมตามที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง

    แนะแนว ลูกเสือ ชุมนุม
    ลูกเสือ-เนตรนารี ชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
    แนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมค่าย
    *** แนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ

    10. เมื่อสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาจะต้องจัดทำสิ่งใดต่อไปนี้ควบคู่กันไป

    วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
    ****การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
    จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
    โครงสร้างรายวิชา ตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนด

    11. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานคาดหวังสิ่งใดให้เกิดกับผู้เรียนมากที่สุด

    ***คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
    การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
    การเรียนรู้แบบบูรณาการ

    12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีจุดมุ่งหมายอะไร

    เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
    เพื่อตัดสินผลการเรียน
    เพื่อเน้นการปฏิบัติตามสภาพจริง
    ***เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ แ ละตัดสินผลการเรียน

    13. การประเมินเพื่อตัดสินผลมีความหมายตรงกับต่อไปนี้

    เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน
    เพื่อใช้แก้ปัญหาการเรียนรู้
    เพื่อออกแบบกระบวนการจัดการเรียนให้เหมาะสม
    *** เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด

    14. การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลมีเป้าหมายเดียวกันคืออะไร

    หน่วยการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
    กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
    สื่อการสอนที่เหมาะสม
    ***นักเรียนที่มีคุณภาพ

    15. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

    โครงสร้างเวลาเรียน
    มาตรฐานการเรียนรู้
    *** คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
    เกณฑ์การจบหลักสูตร

    ตอบลบ
  5. 16. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

    ***ส่วนกลางกำหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ซึ่งเป็นเป้าหมายการวัดประเมินผล แต่ละระดับชั้น
    เขตพื้นที่การศึกษากำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นเพื่อให้สถานศึกษาในเขตใช้ใน การจัดการเรียนรู้
    สถานศึกษาสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนสาระตามความต้องการของท้องถิ่น หรือ ส่วนที่ต้องการเน้นได้
    สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับบริบทและความต้องการ

    17. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 มีหลักการเดียวกันคืออะไร ?

    ยึดสาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นหลัก
    ***เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน
    มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะสำคัญ
    มีวิสัยทัศน์แกนกลางเพื่อความเป็นเอกภาพ

    18. องค์ประกอบสำคัญของหลักสูตรสถานศึกษา

    คำอธิบายรายวิชา
    มาตรฐานการเรียนรู้
    สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
    เกณฑ์การประเมินกลุ่มสาระการเรียนรู้

    19. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ต้องผ่านการอนุมัติการใช้จากคณะกรรการสถานศึกษา

    โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
    คำอธิบายรายวิชา
    ***เกณฑ์การจบหลักสูตร
    หน่วยการเรียนรู้

    20. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา มีสิ่งสำคัญอะไรบ้าง ?

    ****กำหนดรายวิชาที่จัดสอนแต่ละปี/ภาคเรียน เวลาเรียนหรือหน่วยกิต
    ความต้องการของท้องถิ่น/สถานศึกษา/เขตพื้นที่การศึกษา
    เกณฑ์การจบการศึกษาของผู้เรียน / สถานศึกษา
    หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้

    21. รายวิชาพื้นฐานในหลักสูตรสถานศึกษากำหนดมาจากสิ่งใด ?

    สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
    จุดหมายของหลักสูตรแกนกลาง
    คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลาง
    *** มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง

    22. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่กิจกรรมพัฒนานักเรียน ?

    กิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อ
    กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
    *** กิจกรรมไหว้ครู
    กิจกรรมชุมนุมวาดภาพ

    23. ผังความคิดต่อไปนี้ต้องการสื่อสารอะไร


    ****การนำความรู้ ทักษะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไปกำหนดเป็นรายวิชา
    การนำความรู้ ทักษะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไปเขียนเป็นคำอธิบายรายวิชา
    มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2สาระ
    ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2 รายวิชา

    24. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สถานศึกษากำหนดข้อใดครอบคลุมตามข้อกำหนดของหลักสูตรแกนกลาง

    แนะแนว ลูกเสือ ชุมนุม
    แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์
    แนะแนว ผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ
    ****แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารีหรือผู้บำเพ็ญปรกิจกรรมเพื่อสังคมฯ

    25. จุดเน้นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กำหนดสิ่งใดเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียน

    สมรรถนะสำคัญ
    คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์
    ***วิสัยทัศน์
    สาระการเรียนรู้แกนกลาง

    26. การเชื่อมโยงจากหลักสูตรสถานศึกษาสู่การเรียนการสอนและวัดประเมินผลมีสิ่งใดต่อไปนี้เป็นตัวเชื่อม ?

    กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กับ ตัวชี้วัด
    คำอธิบายรายวิชา กับ โครงสร้างรายวิชา
    **** เกณฑ์การจบหลักสูตร กับ หน่วยการเรียนรู้
    โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา กับ เกณฑ์การตัดสิน

    27. จุดมุ่งหมายสำคัญของการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

    เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
    เพื่อตัดสินผลการเรียน
    เพื่อเน้นการปฏิบัติตามสภาพจริง
    ***เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน

    28. บทบาทสำคัญในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ครูต้องคำนึงถึงมากที่สุดคืออะไร ?

    ใช้การวัดผลเป็นเครื่องมือการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้
    ใช้การประเมินเป็นเป้าหมายของการจัดกลุ่มผู้เรียนตามศักยภาพ
    *** ใช้การประเมินเป็นกลไกในการพัฒนา ช่วยเหลือผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย
    ใช้การวัดและประเมินประสิทธิภาพการสอน

    29. เกณฑ์การให้คะแนน ( Rubrics ) ควรใช้กับการประเมินลักษณะใด

    *** การประเมินเชิงคุณภาพ
    การประเมินแบบอิงกลุ่ม
    การประเมินเชิงปริมาณ
    ถูกหมดทุกข้อ

    30. การประเมินระดับใดที่ประเมินได้ตรงและสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานมากที่สุด

    ระดับระดับชั้นเรียน
    ***ระดับสถานศึกษา
    ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
    ระดับชาติ

    ตอบลบ
  6. utq 207
    แบบทดสอบก่อนการฝึกอบรม(Pre-test) 23 คะแนน คำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย o ลงหน้าข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

    1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ลักษณะของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
    1.การสอนวิทยาศาสตร์ทุกเรื่อง ใช้กระบวนการสืบเสาะได้
    2.เป็นการสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการเรียน รู้
    3.จะใช้คำถามของนักเรียนเป็นจุดเริ่มต้นการเรียน
    4.ครูจะเป็นผู้แนะนำและ เริ่มต้นการเรียนรู้
    *** 1 3 
    1 2 3
    1 3 4
    1 2 3 4

    2. มุมมองทางวิทยาศาสตร์ที่น่าเชื่อถือได้ มีลักษณะอย่างไร
    1.เป็นกลวิธีที่สนับสนุนการสืบเสาะหาความรู้ของนักเรียน
    2. การสืบเสาะหาความรู้เป็นวิธีการที่ทำให้ได้ความจริงแท้
    3.ธรรมชาติที่มีความ กว้างเกินกว่าที่จะมีเครื่องมือตรวจสอบหรือรับรู้
    4.จัดว่าเป็นความสามารถใน การสืบเสาะหาความรู้
    1 2 3
    **** 1 2 4 
    2 3 4
    1 2 3 4

    3. ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ไม่มีอำนาจ หมายความว่าอย่างไร .

    แหล่งความรู้มีการเปลี่ยนแปลงได้
    **** ทฤษฎีใหม่อาจถูกยอมรับได้เมื่อมีเหตุผลใหม่ที่เพียงพอ 
    ผู้คิดค้นหาคำตอบได้หลายคน
    ระยะเวลาที่เกิดวิทยาศาสตร์อย่างรุนแรงทำให้กระแสต้องยอมรับได้

    4. ข้อใด ไม่เป็น องค์ประกอบที่สำคัญในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

    การตรวจสอบต้องมีพยานหลักฐานที่สอดคล้องกับคำถาม
    การอธิบายคำตอบจะต้องอยู่บนความมีเหตุผล
    **** การอธิบายคำตอบจะต้องอยู่บนความรู้ในช่วงเวลานั้น ๆ 
    คำถามจะเป็นตัวบ่งชี้คำตองอย่างเป็นระบบ

    5. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยตรง จะต้อง

    **** ต้องใช้กระบวนการคิดและทักษะการปฏิบัติ 
    เป็นทักษะทางปัญญาที่ต้องใช้ความรู้จากเนื้อหาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
    เป็นทักษะการใช้ชีวิตที่เกิดจากการฝึกฝน
    เป็นทักษะที่ชัดเจนและเป็นขั้นตอน

    6. คำถามที่จะสะท้อนประสบการณ์ ให้นักเรียนแสดงลำดับขั้นตอน ควรเป็นคำถามใด

    **** วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง 
    กระแสไฟฟ้าเกิดได้อย่างไร
    นักเรียนวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์ได้กี่โวลต์
    จงแสดงความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า

    7. “ต้นถั่วเขียวเจริญเติบโตงอกงามดีในที่มีแสงสว่าง” จากข้อความที่กำหนดให้
    เป็นการสืบเสาะหาความรู้แบบใด
    การสืบเสาะหาความรู้แบบมีขั้นตอน
    การสืบเสาะหาความรู้แบบกำหนดวิธีการ
    การสืบเสาะหาความรู้แบบกำหนดแนวทางให้
    **** การสืบเสาะหาความรู้แบบอิสระ 

    8. การวิจัยและการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ของนักวิทยาศาสตร์ เพื่อหน่วยงานอื่น
    เช่นภาคอุตสาหกรรม มูลนิธิ ฯลฯ จัดว่าเป็นภาระของนักวิทยาศาสตร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
    ***** เป็น เพราะเป็นการช่วยเหลือและพัฒนางานในองค์กรนั้น 
    เป็น เพราะเป็นการช่วยเหลือสังคมนั้น ๆ ให้รู้จักตัวเองให้ดีขั้น
    ไม่เป็น เพราะผิดจรรยาบรรณของนักวิทยาศาสตร์
    ไม่เป็น เพราะนักวิทยาศาสตร์น่าจะมีกรอบการดำเนินการในการวิจัยเพื่อพัฒนาหน่วยงานราชการ

    9. จงพิจารณาข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้
    1. ระบุสิ่งที่นักเรียนควรรู้
    2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
    3. ระบุว่าผู้เรียนต้องทำอะไรได้
    4. ความต้องการให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ เจตคติ คุณธรรม
    5. ระบุข้อมูลสำคัญในการกำหนดองค์ประกอบของหลักสูตรในการวิเคราะห์มาตรฐานการ เรียนรู้
    และตัวชี้วัด ครูผู้สอนจะพบคำสำคัญตามข้อใด
    ข้อ 2, 4, 5
    ข้อ 2, 3, 4
    ข้อ 1, 3, 5
    **** ข้อ 1, 3, 4 

    10. ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    พุทธศักราช 2551
    ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา
    ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
    **** ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการเรียนรู้ 
    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการคิด

    ตอบลบ
  7. 11. ข้อใดกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    พุทธศักราช 2551ได้ถูกต้อง
    ใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อที่กำหนดเท่านั้น
    เลือกใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์บางข้อเท่านั้น
    เลือกใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์บางข้อ และสามารถเพิ่มเติมได้ตามที่สถานศึกษาต้องการ
    ***** ใช้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อที่กำหนด และสามารถเพิ่มเติมได้ตามที่สถานศึกษาต้องการ 

    12. ข้อใดกล่าวถึง “หลักสูตรอิงมาตรฐาน” ได้อย่างถูกต้อง

    ***** มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
    มาตรฐานการเรียนรู้ได้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ และคุณลักษณะสำคัญ
    สถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
    มาตรฐานการเรียนรู้สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและท้องถิ่น

    13. จงอ่านมาตรฐานการเรียนรู้ต่อไปนี้ “เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
    มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
    ” แล้วให้ขีดใต้ คำ/ข้อความ ที่เป็นความรู้และวงกลมล้อมรอบ ข้อความที่เป็นทักษะ คำตอบข้อใดถูก
    ***** ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ” 
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ”
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ “สิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์”

    14. จงอ่านตัวชี้วัดต่อไปนี้ “ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ
    เกิดปฏิกิริยาเคมี และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์” แล้วให้ขีดใต้ คำ/ข้อความ ที่เป็นความรู้และวงกลม
    ล้อมรอบ ข้อความที่เป็นคุณลักษณะ คำตอบข้อใดถูก
    ***** วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“นำความรู้ไปใช้ประโยชน์” 
    วงกลมล้อมรอบ ข้อความ“ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี”
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ทดลอง อธิบาย และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์”
    ขีดเส้นใต้ ข้อความ “ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี”

    15. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามข้อใดสนับสนุนคำกล่าวที่ว่า “หน่วยการเรียนรู้คือหัวใจของ
    หลักสูตรสถานศึกษา”
    หน่วยการเรียนรู้จะมีรายละเอียดต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียน
    หน่วยการเรียนรู้อิงต้องเนื้อหา การวัดประเมินผลจึงเน้นที่การจดจำเนื้อหาให้ได้มากที่สุด
    **** หน่วยการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย จะนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน 
    มาตรฐานที่เป็นเป้าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ต้องได้มาจากมาตรฐานเพียงข้อเดียวเพื่อไม่ให้สับสน

    16. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
    1. ด้านความรู้เนื้อหาวิทยาศาสตร์
    2. ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหา
    3. ด้านบริบทตัวนักเรียน
    4. ธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์
    เพื่อให้การออกแบบการเรียนรู้สนองต่อมาตรฐานของหลักสูตรอย่างชัดเจน ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์
    จึงควรมีความรู้ด้านใดบ้าง
    ข้อ 1, 2
    ข้อ 2, 3
    ข้อ 3, 4
    **** ข้อ 1, 2, 3 

    17. ลักษณะการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่ลักษณะที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน สิ่งแรกที่เห็นจะไม่ใช่ครู เพราะครูนั่งอยู่ในวงกับผู้เรียนในกลุ่ม
    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน จะเห็นผู้เรียนคนหนึ่งกำลังเตรียมงานโครงการในกลุ่มย่อยโดย
    มีการระดมสมองบันทึกไว้บนกระดาน
    **** หากเดินเข้าไปในห้องเรียน เห็นครูกำลังพูด ผู้เรียนทุกคนมองและฟังครู ผู้เรียนจะพูดได้เมื่อครูอนุญาต 
    หากเดินเข้าไปในห้องเรียน จะเห็นผู้เรียนกลุ่มหนึ่งกำลังแสดงผลงานที่กลุ่มพวกเขาออกแบบและจัดทำ

    18. ถ้าท่านต้องการสอน เรื่อง การลอยการจม โดยท่านมีประเด็นปัญหา เช่น
    1.วัตถุที่ลอยเบากว่าวัตถุที่จมเสมอไปหรือไม่
    2. วัตถุที่ยาวจะลอยได้ดีกว่าวัตถุที่สั้นใช่หรือไม่
    3. วัตถุลอยในน้ำตื้นดีกว่าลอยในน้ำลึกใช่หรือไม่
    จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม เลือกหัวข้อ และเลือกวิธีการที่จะใช้ศึกษาหาความรู้ ดำเนินงานตาม
    แผนการที่แต่ละกลุ่มวางไว้ สุดท้ายให้นำเสนอผลงานและร่วมประเมินผล ท่านคิดว่าการดำเนิน
    กิจกรรม ดังกล่าวเป็นขั้นตอนที่สอดคล้องกับเทคนิคใด
    Jigsaw I
    GI ,
    **** โครงงาน 
    TAI

    19. ลักษณะที่สำคัญของคำถามแบบสร้างสรรค์คือ
    1.คำถามเกิดการ เปรียบเทียบ
    2.คำถามที่เกิดการสำรวจ
    3.คำถามที่เกี่ยวกับการวัด
    4.คำถามสู่การปฏิบัติ
    5.คำถามที่ให้นักเรียนตั้ง ปัญหาได้
    1 4 5
    4 5
    1 2 4 5
    **** 1 2 3 4 5 

    ตอบลบ
  8. 20. ข้อที่ครูควรคำนึงในการถามคำถามนักเรียน
    1.ไม่จำเป็นต้องเตรี ยมการมากเพราะคำถามจะเกิดจากสถานการณ์เฉพาะหน้า
    2.ต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียน
    3.ควรเป็นคำถามที่เน้นความรู้ก่อน เพื่อจะเป็นแนวทางในการถามคำถามที่ทำให้นักเรียนคิดสร้างสรรค์
    แล้วลงสู่การ ปฏิบัติได้
    4.กระชับ เข้าใจง่าย เหมาะสมกับวัยของนักเรียน
    2 4
    2 3
    **** 2 3 4 
    1 2 3 4

    21. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ เป็นลักษณะเด่นของการคิดด้านใด “ เป็นการคิดที่เน้น
    ความมีเหตุผล เน้นคุณค่า เพื่อเป็นทางเลือกที่จะตัดสินใจบนข้อมูลที่มากพอและเชื่อถือได้”
    ความคิดวิเคราะห์
    ความคิดวิจารณญาณ 
    ความคิดสร้างสรรค์
    ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์

    22. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นบทบาทของครูที่เหมาะสม ในขั้นสำรวจค้นหา
    ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry base Learning)
    ***** ฟังและสังเกตการโต้ตอบกันของนักเรียน 
    ส่งเสริมให้นักเรียนอธิบายอย่างหลากหลาย
    จัดหาคำตอบให้นักเรียนไว้เป็นหมวดหมู่
    อธิบายหรือบอก เมื่อนักเรียนทำไม่ถูกต้อง

    23. จากข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นบทบาทของนักเรียนที่ไม่เหมาะสม ในขั้นขยายความรู้
    ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry base Learning)
    ทำงานโดยหลีกเลี่ยงการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
    ***** อธิบายโดยไม่สนใจข้อมูลหรือหลักฐาน 
    อธิบายเหมือนกับสิ่งที่ครูจัดเตรียมไว้ให้
    บันทึกข้อมูลโดยตรวจสอบความเข้าใจกับเพื่อน

    24. การเลือกเทคนิค/ กลวิธีสอนเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการเรียนการสอน ผู้สอนต้องพิจารณา
    อย่างรอบคอบ ท่านคิดว่าข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เหตุผลหลักที่ใช้ในการเลือกเทคนิค/กลวิธี สอน
    สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนการสอน
    เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน
    เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ
    ***** สอดคล้องกับความทันสมัยและความนิยมของสังคม 

    25. ถ้าครูแดง ต้องการศึกษาว่า “ส่วนใดของสะเดาที่ใช้ผลิตเป็นสารฆ่าแมลงได้ดีที่สุด
    ” สิ่งที่ครูแดง ต้องจัดให้แตกต่างกันในการทดลองนี้คืออะไร
    **** ส่วนของสะเดาที่นำมาทดลอง 
    ปริมาณน้ำที่ใช้ผสมสารละลาย
    ชนิดและจำนวนแมลงที่ใช้ทดลอง
    ปริมาณแสงและความชื้นในบริเวณทดลอง

    26. จากข้อความต่อไปนี้ “ ขมิ้นชันเป็นพืชล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีเหลืองเข้มใช้ประโยชน์
    ได้หลายอย่าง ขยายพันธ์โดยใช้เหง้าฝังดิน ในหน้าแล้งใบจะเ+++่ยวพอฝนตกจะแตกใบใหม่
    ส่วนที่ใช้ทำสมุนไพรคือเหง้า เพราะมีสารพิษพวกน้ำมันหอมระเหย” ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่ได้จากการสังเกต
    ขมิ้นชันมีเหง้าอยู่ใต้ดิน
    เหง้ามีสีเหลืองเข้ม
    ในหน้าแล้งใบจะเ+++่ยวพอฝนตกจะแตกใบใหม่
    ***** มีสารพิษพวกน้ำมันหอมระเหย 

    27. ถ้าจะทดลองว่า “ความลึกในการเพาะเมล็ดพืชในดินมีผลต่อการงอกของเมล็ดหรือไม่
    ” สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกันในการทดลองนี้คืออะไร
    ชนิดของเมล็ดพืชที่นำมาเพาะและภาชนะที่ใช้เพาะ
    ภาชนะที่ใช้เพาะ ตำแหน่งและลักษณะการวางเมล็ดพืช
    ตำแหน่งและลักษณะการวางเมล็ดพืช ภาชนะที่ใช้เพาะ
    ***** สิ่งแวดล้อมที่วางภาชนะที่เพาะเมล็ดและชนิดของเมล็ดพืช 

    28. ในการวัดความสูงของต้นถั่วเขียว ที่ปลูกไว้ในแปลงเกษตร จำนวน 185 ต้น
    ได้ผลดังตารางแสดงความสูงของต้นถั่วเขียวการแปลความจากข้อมูลข้อใดถูกต้อง


    การสำรวจพบว่าต้นถั่วเขียวส่วนใหญ่มีความสูง 50-100 เซนติเมตร
    ถ้ามีการเก็บตัวอย่างมากกว่านี้ข้อมูลจะถูกต้องมากขึ้น
    **** การสำรวจพบว่าความสูงเฉลี่ยของต้นถั่วเขียวสูงกว่า 100 เซนติเมตร 
    ถ้ามีการสำรวจต้นถั่วเขียวชนิดเดียวกันที่ปลูกวันเดียวกันก็จะให้ผลเช่นนี้

    29. นิยามในข้อใด เหมาะสมที่จะเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการ

    แคลอรี คือ หน่วยวัดปริมาณความร้อน
    ***** เป็ด เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง มีสองขา ไม่สามารถบินได้ 
    ขนาดของคน คือความสูงที่วัดได้
    แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแก๊สไม่มีสี

    30. ในการแข่งขันหาปริมาตรของวัตถุ ได้มีการจัดเครื่องมือและวัตถุต่างๆ ให้ดังนี้
    วัตถุให้ : 1=น้ำเกลือ 2=แท่งไม้ 3=ก้อนหิน
    เครื่องมือให้ : 4=ถ้วยยูรีกา 5=กระบอกตวง 6=ไม้บรรทัด
    ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับวัตถุที่ต้องการหาปริมาตร การเลือกในข้อใดถูกต้องที่สุด
    1-5 2-4,5 3-6
    ***** 1-5 2-6 3-4,5 
    1-4,5 2-6 3-4
    1-6 2-5 3-4,5

    ตอบลบ
  9. รหัสวิชา UTQ ชื่อวิชา




    UTQ-101 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน/การวัดประเมินผล
    UTQ-102 การบริหารหลักสูตร
    UTQ-103 การประกันคุณภาพการศึกษา
    UTQ-104 การสอนแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กและห้องเรียนคละชั้น
    UTQ-105 การบูรณาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
    UTQ-106 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
    UTQ-107 การจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
    UTQ-201 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย:ภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษา
    UTQ-202 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย:ภาษาไทย สำหรับชั้นมัธยมศึกษา
    UTQ-203 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์:คณิตศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษา
    UTQ-204 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์:คณิตศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา
    UTQ-205 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 3
    UTQ-206 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
    UTQ-207 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 - 3
    UTQ-208 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม: การสอนภูมิศาสตร์
    UTQ-209 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม:โครงงานประวัติศาสตร์
    UTQ-210 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม: วิชาเศรษฐศาสตร์ (เน้นเศรษฐกิจพอเพียง)
    UTQ-211 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา: การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
    UTQ-212 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา: การพัฒนาองค์ความรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
    UTQ-213 สาระการเรียนรู้ศิลปะ: ดนตรีศึกษา
    UTQ-214 สาระการเรียนรู้ศิลปะ:ทัศนศิลป์
    UTQ-215 สาระการเรียนรู้ศิลปะ:นาฏศิลป์
    UTQ-216 สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี: เทคโนโลยี
    UTQ-217 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ: การพัฒนาความสามารถทางภาษา(Language Proficiency)
    UTQ-218 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ: การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กลุ่มสาระเรียนรู้
    ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ) สู่การปฏิบัติ
    UTQ-219 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน: การพัฒนาระบบแนะแนว
    UTQ-220 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
    UTQ-221 ปฐมวัย: การศึกษาปฐมวัย
    UTQ-222 บรรณารักษ์: การจัดการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
    UTQ-223 การศึกษาพิเศษ: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ-การศึกษาพิเศษ
    UTQ-224 การศึกษาพิเศษ: ความรู้ในการปฏิบัติงานของครูการศึกษาพิเศษ
    UTQ-225 นวัตกรรมการนิเทศ (Coaching) การศึกษาชั้นเรียน (Lessonstudy)









    .

    ตอบลบ
  10. รวมเว็ปไซต์หลักสูตร UTQ


    UTQ-102 การบริหารหลักสูตร


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/4/course_wares/UTQ-102/unit1/unit_index.html





    UTQ-103 การประกันคุณภาพการศึกษา


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/6/course_wares/UTQ-103/unit1/unit_index.html





    UTQ-104 การสอนแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กและห้องเรียนคละชั้น


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/8/course_wares/UTQ-104/unit3/unit_index.html





    UTQ-105 การบูรณาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน


    http://www2.utqonline.in.th/ftp_users/10/course_wares/UTQ-105/unit3/unit_index.html





    UTQ-106 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/12/course_wares/UTQ-106/unit1/unit_index.html





    UTQ-107 การจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/14/course_wares/UTQ-107/unit2_2/unit_index.html





    UTQ-201 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย:ภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษา


    http://www1.utqonline.in.th/ftp_users/16/course_wares/UTQ-201/unit3/unit_index.html





    UTQ-203 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์:คณิตศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษา


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/19/course_wares/UTQ-203/unit2/unit_index.html





    UTQ-204 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์:คณิตศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/22/course_wares/UTQ-204/unit1/unit_index.html





    UTQ-205 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 3


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/24/course_wares/UTQ-205/unit3/unit_index.html







    UTQ-207 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์:วิทยาศาสตร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 - 3


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/27/course_wares/UTQ-207/unit5/unit_index.html





    UTQ-208 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม: การสอนภูมิศาสตร์


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/30/course_wares/UTQ-208/unit2/unit_index.html







    UTQ-210 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม: วิชาเศรษฐศาสตร์ (เน้นเศรษฐกิจพอเพียง)


    http://www.utqonline.in.th/knowledge_base_page/list/17





    UTQ-211 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา: การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/36/course_wares/UTQ-211/unit1/unit_index.html





    UTQ-212 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา: การพัฒนาองค์ความรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/39/course_wares/UTQ-212/unit1/unit_index.html




    UTQ-213 สาระการเรียนรู้ศิลปะ: ดนตรีศึกษา


    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/41/course_wares/UTQ-213/unit1/unit_index.html





    UTQ-215 สาระการเรียนรู้ศิลปะ:นาฏศิลป์

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/45/course_wares/UTQ-215/unit4/unit_index.html


    UTQ-217 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ: การพัฒนาความสามารถทางภาษา(Language Proficiency)

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/49/course_wares/UTQ-217/unit2/unit_index.html





    UTQ-218 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ: การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กลุ่มสาระเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ) สู่การปฏิบัติ

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/49/course_wares/UTQ-218/unit1/unit_index.html




    UTQ-219 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน: การพัฒนาระบบแนะแนว

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/52/course_wares/UTQ-219/unit1/unit_index.html




    UTQ-220 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/54/course_wares/UTQ-220/unit1/unit_index.html


    UTQ-221 ปฐมวัย: การศึกษาปฐมวัย

    http://www1.utqonline.in.th/ftp_users/56/course_wares/UTQ-221/unit1/unit_index.html




    UTQ-222 บรรณารักษ์: การจัดการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/58/course_wares/UTQ-222/unit5/unit_index.html


    UTQ-223 การศึกษาพิเศษ: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ-การศึกษาพิเศษ

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/61/course_wares/UTQ-223/unit1/unit_index.html




    UTQ-224 การศึกษาพิเศษ: ความรู้ในการปฏิบัติงานของครูการศึกษาพิเศษ

    http://www.utqonline.in.th/ftp_users/63/course_wares/UTQ-224/unit4/unit_index.html

    ตอบลบ
  11. ขอบคุณมากนะครับคุณครูมีประโยชน์มากที่สุดเลย

    ตอบลบ
  12. ได้รับความรู้เยอะเลย เราสอนเทศบาลไม่ได้ทำ ครูนัน

    ตอบลบ