ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

25 พฤษภาคม 2554

ระบบฐานข้อมูล Microsoft SQL





   ระบบฐานข้อมูล Microsoft SQL





Microsoft SQL 6.5

เป็นอีกหนึ่งในระบบฐานข้อมูลที่กำ ลังได้รับความนิยม เพราะความต้องการระบบ





Client/Server

ในระบบฐานข้อมูลมีความจำ เป็นอย่างมาก ดังนั้นในหมู่ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ Microsoft จึงหันมาใช้





Microsoft SQL

เพราะสามารถเป็นระบบฐานข้อมูลแบบ Client/Server และรันอยู่บน Window NT ด้วยเหตุที่





ข้อมูลส่วนใหญ่ทั่วโลกเก็บไว้ในเครื่องที่ใช้

Microsoft Windows เป็น Operating System จึงทำ ให้เป็นการง่ายต่อ





Microsoft SQL

ที่จะนำ ข้อมูลที่อยู่ในรูป Windows Based มาเก็บและประมวลผล และ ประกอบกับการที่ราคา





ถูกและหาง่าย จึงเป็นปัจจัยหลักที่ทำ ให้

Microsoft SQL จึงเป็นระบบฐานข้อมูลที่มักจะถูกเลือกใช้ นอกจากนี้





ข้อมูลส่วนใหญ่ในโลกปัจจุบันอยู่ในรูปของ

Microsoft Windows Format อีกด้วยจึงทำ ให้ Microsoft SQL 6.5 จึง

เป็นอีกทางเลือกที่เด่นชัดสำ หรับองค์กรที่ต้องการความเป็นเลิศในเรื่องข้อมูล




คลิกอ่านที่ลิงก์นี้ค่ะ


http://www.sut.ac.th/ist/Courses/204204/Lecture/204204_47_11.pdf





http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_2/Implement%20of%20Database/images/B1.htm






















.
























1 ความคิดเห็น:

  1. SQL เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เพื่อจัดการกับฐานข้อมูลโดยเฉพาะ เราสามารถแบ่งการทำงานได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
    1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
    2. Update query ใช้สำหรับแก้ไขข้อมูล
    3. Insert query ใช้สำหรับการเพิ่มข้อมูล
    4. Delete query ใช้สำหรับลบข้อมูลออกไป
    Select query
    ใช้ในการดึงข้อมูลในฐานข้อมูล จะมีการค้นหารายการจากตารางในฐานข้อมูล ตั้งแต่หนึ่งตารางขึ้นไป ตามเงื่อนไขที่สั่ง ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นเซตของข้อมูลที่สามารถสร้าง เป็นตารางใหม่ หรือใช้แสดงออกมาทางจอภาพเท่านั้น โดยมีรูปแบบดังนี้
    Select รายละเอียดที่เลือก From ตารางแหล่งที่มา Where กำหนดเงื่อนไขฐานข้อมูลที่เลือก Group by ชื่อคอลัมน์
    ตัวอย่างการใช้งาน
    1. Select fmane,lname From stdinfo
    หมายถึง ให้แสดงเฉพาะคอลัมน์ fname คือ ชื่อ และคอลัมน์ lname คือ นามสกุล จากตาราง stdinfo
    2. Select fname,lname From stdinfo Where programe=”สังคมศึกษา”
    หมายถึง ให้แสดงชื่อ และนามสกุลจากตาราง stdinfo ซึ่งมีโปรแกรมวิชาเป็นสังคมศึกษา
    3. Select fname From stdinfo Where fname Like ‘ส%’
    หมายถึง ให้เลือกรายชื่อ นักศึกษาที่มีอักษรนำหน้าเป็น “ส” ขึ้นมาแสดงทั้งหมด
    4. Select id,fname,lname From stdinfo Where id=”001” AND id=”005”
    หมายถึง ให้แสดง รหัสประจำตัวนักศึกษา ,ชื่อ และ นามสกุล ที่มีรหัสเป็น 001 และ 005
    ข้อสังเกต
    1. ประโยคย่อย WHERE เราสามารถระบุเงื่อนไขได้โดยใช้โอเดปอร์เรเตอร์ ทั้วไป เช่น NOT < > = กรณีที่คอลัมน์เป็นตัวเลข เราก็สามารถระบุเงื่อนไขที่เป็นการคำนวนได้เช่น +,-,*,/
    2. คำว่า Like ใช้กับค่าในคอลัมน์ประเภทตัวอักษรว่าตรงกับประโยคที่ต้องการหรือไม่ เราสามารถใช้เครื่องหมาย widecard เช่น *,??,% ในประโยคได้ ตามตัวอย่างข้างต้น
    3. ในการคำนวนนั้นมีฟังก์ชัน COUNT,SUM,AVG.MIN,MAX ซึ่งสามารถนำมาใช้ได้ เช่น
    Select Count(id) From stdinfo
    หมายถึง ให้แสดงจำนวนรายการทั้งหมดในตาราง
    4. ในกรณีที่ตารางสองตารางมีความสัมพันธ์กัน เราก็สามารถดูข้อมูลทั้งสองตารางพร้อมกันได้ เช่น ตารางที่ 1 ข้อมูลนักศึกษาชื่อ stdinfo
    กำหนดให้มีคอลัมน์รหัสประจำตัว (id) ,ชื่อ (fname), นามสกุล (lname)
    ตารางที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับวิชาที่เรียน ชื่อ substd
    กำหนดให้มีคอลัมน์ชื่อวิชา (subject), รหัสประจำตัวอ้างอิง (rid) ,อาจารย์ผู้สอน (teacher)
    เราต้องการดูข้อมูลรหัสประจำตัว ชื่อ นามสกุล และชื่อวิชาที่เรียน เราจะใช้คำสั่งดังนี้
    Select stdinfo.id, stdinfo.fname,stdinfo.lname,substd.subject From stdinfo,substd Where stdinfo.id=substd.rid
    Update query
    ใช้สำหรับการแก้ไขข้อมูลในตาราง โดยแก้ในคอลัมน์ที่มีค่าตรงตามเงื่อนไข มีรูปแบบดังนี้
    Update ชื่อตาราง Set [ชื่อคอลัมน์=ค่าที่จะใส่เข้าไปในคอลัมน์นั้น ๆ ] Where เงื่อนไข
    เช่น จากตารางแสดงรายชื่อนักศึกษากรณีที่นักศึกษาชื่อ สมบัติ มักน้อย ย้ายโปรแกรมวิชา จาก สังคมศึกษา ไปเป็นภาษาไทย เราใช้คำสั่งดังนี้
    Select stdinfo Set programe=’ภาษาไทย’ Where Fname=’สมบัติ’ and Lname=’มักน้อย’
    Insert query
    ใช้ในการเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ ๆ เข้าไปในฐานข้อมูล มีรูปแบบดังนี้
    Insert Into ชื่อตาราง [=ชื่อคอลัมน์1,2..] Values [ค่าที่จะใส่ลงในคอลัมน์ 1,2…]
    เช่น ต้องการเพิ่มรายชื่อนักศึกษา ที่มีรหัสประจำตัวเป็น 007 ชื่อ กมลวรรณ ศิริกุล โปรแกรมวิชา วิทยาศาสตร์ เราสามารถใช้คำสั่งดังนี้
    Insert into stdinfo (id,fname,lname,programe) Values (‘007’,’กมลวรรณ’,’ศิริกุล’,’ วิทยาศาสตร์’)
    Delete query
    ใช้ลบข้อมูลออกจากตาราง มีรูปแบบดังนี้
    Delete From ชื่อตาราง Where เงื่อนไข
    เช่น ต้องการลบรหัสประจำตัวนักศึกษา 005 ออกจากฐานข้อมูล เราใช้คำสั่งดังนี้
    Delete From stdinfo Where id=’005’





    .

    ตอบลบ