ศูนย์ LifeVantage

ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ

23 กันยายน 2554

Richard Branson (ริชาร์ด แบรนสัน)

Richard Branson (ริชาร์ด แบรนสัน)





เซอร์ ริชาร์ด ชาร์ลส นิโคลาส แบรนสัน หรือ ริชาร์ด แบรนสัน (18 กรกฎาคม ค.ศ. 1950 - ) นักธุรกิจชาวอังกฤษ เป็นเจ้าของธุรกิจกว่า 360 บริษัท ที่ใช้ชื่อการค้า "เวอร์จิ้น"
ริชาร์ด แบรนสัน เริ่มทำธุรกิจตั้งแต่อายุ 15 ปี โดยเริ่มทำนิตยสารรายเดือนสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย ชื่อว่า Student และเริ่มขยายธุรกิจจัดจำหน่ายแผ่นเสียงทางไปรษณีย์ ในปี พ.ศ. 2513 และเปิดเครือข่ายร้านจำหน่ายแผ่นเสียง ใช้ชื่อว่า Virgin Records ทั่วประเทศอังกฤษ พร้อมกับทำธุรกิจห้องบันทึกเสียง และเริ่มผลิตแผ่นเสียงในสังกัดของตัวเอง ศิลปินที่มีชื่อเสียงในสังกัด ในยุคแรกเช่น ไมค์ โอลด์ฟิลด์, แทนเจอรีน ดรีม, เซ็กซ์ พิสทอลส์ และยุคถัดมาเช่น เจเนซิส, ฟิล คอลลินส์, ปีเตอร์ แกเบรียล, บอย จอร์จ
ในปี พ.ศ. 2527 ริชาร์ด แบรนสัน เริ่มเข้าสู่ธุรกิจสายการบิน โดยเปิดสายการบินเวอร์จิน แอตแลนติก และเริ่มขยายสู่ธุรกิจอื่นเป็นจำนวนมาก เช่น โทรศัพท์มือถือ รถไฟ ลอตเตอรี่ เกมคอมพิวเตอร์ น้ำโคล่า วอดก้า สิ่งพิมพ์ ฯลฯ
ชีวิตส่วนตัว ริชาร์ด แบรนสัน ชื่นชอบการผจญภัยและสร้างสถิติโลก ส่วนหนึ่งเพื่อช่วยประชาสัมพันธ์ตราสินค้า "เวอร์จิ้น" ของเขาไปในตัว ในปี พ.ศ. 2529 เขาขับเรือเร็วข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก รายการ "บลูริบบันด์" (Blue Riband) เป็นระยะทางกว่า 3,000 ไมล์ ใช้เวลา 3 วัน 8 ชั่วโมง 31 นาที ทำลายสถิติเดิมกว่า 2 ชั่วโมง นอกจากนี้เขายังทำสถิติเดินทางด้วยบัลลูนข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี พ.ศ. 2530 และข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ในปี พ.ศ. 2533
ในปี พ.ศ. 2547 ริชาร์ด แบรนสัน ได้ประกาศแผนการที่จะสนับสนุนโครงการ Spaceship One โดยมีกำหนดเปิดให้บริการขนส่งผู้โดยสารเชิงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2553



อ้างอิง

  1. ^ ริชาร์ด แบรนสัน, ครั้งเดียวไม่พอ แปลและเรียบเรียงจาก Richard Branson, Losing My Virginity, The Autobiography, แบรนด์เอจบุ๊คส์, ISBN 974-8290-87-5

แหล่งข้อมูลอื่น




Richard Branson







วิดีโอ YouTube




วิดีโอ YouTube





วิดีโอ YouTube





วิดีโอ YouTube





วิดีโอ YouTube





วิดีโอ YouTube






วิดีโอ YouTube





วิดีโอ YouTube





วิดีโอ YouTube



Sir Richard Charles Nicholas Branson (born 18 July 1950) is an English business magnate, best known for his Virgin Group of over 400 companies.

His first successful business venture was a magazine called Student at age 16. In 1970, he set up an audio record mail-order business. In 1972, he opened a chain of record stores, Virgin Records, later known as Virgin Megastores. Branson's Virgin brand grew rapidly during the 1980s—as he set up Virgin Atlantic Airways and expanded the Virgin Records music label.

Richard Branson is the 5th richest person in the United Kingdom and 254th in the world according to Forbes' 2011 list of billionaires, with an estimated net worth of approximately £2.58 billion (US$4.2 billion).



Early life




Branson was born in Blackheath, London, the son and eldest child of barrister Edward James Branson (10 March 1918 - 19 March 2011) and Eve Huntley Branson (née Flindt). His grandfather, the Right Honourable Sir George Arthur Harwin Branson, was a judge of the High Court of Justice and a Privy Councillor. Branson was educated at Scaitcliffe School (now Bishopsgate School) until the age of thirteen. He then attended Stowe School until the age of sixteen. Branson has dyslexia and had poor academic performance as a student, but later discovered his ability to connect with others.



Career




Branson started his record business from the crypt of a church where he ran The Student. Branson advertised popular records in The Student Magazine and it was an over night success. Trading under the name "Virgin", he sold records for considerably less than the "High Street" outlets, especially the chain W. H. Smith. The name "Virgin" was suggested by one of Branson's early employees because they were all new at business. At the time, many products were sold under restrictive marketing agreements that limited discounting, despite efforts in the 1950s and 1960s to limit so-called resale price maintenance. In effect, Branson began the series of changes that led to large-scale discounting of recorded music.

Branson eventually started a record shop in Oxford Street in London. In 1971, Branson was questioned in connection with the selling of records in Virgin stores that had been declared export stock. The matter was never brought before a court and Branson agreed to repay any unpaid tax and a fine. Branson's mother Eve re-mortgaged the family home to help pay the settlement.

Earning enough money from his record store, Branson in 1972 launched the record label Virgin Records with Nik Powell and bought a country estate, in which he installed a recording studio. He leased out studio time to fledgling artists, including multi-instrumentalist Mike Oldfield, whose debut album Tubular Bells (1973) was Virgin Records' first release and a chart-topping best-seller.

Virgin signed such controversial bands as the Sex Pistols, which other companies were reluctant to sign. It also won praise for exposing the public to such obscure avant-garde music as Faust and Can. Virgin Records also introduced Culture Club to the music world. In the early 1980s, Virgin purchased the gay nightclub Heaven. In 1991, in a consortium with David Frost, Richard Branson had made the unsuccessful bid for three ITV franchisees under the CPV-TV name. The early 1980s also saw his only attempt as a producer—on the novelty record "Baa, Baa, Black Sheep", by Singing Sheep in association with Doug McLean and Grace McDonald. The recording was a series of sheep baaing along to a drum machine produced track and even made the charts at number 42 in 1982.

In 1992, to keep his airline company afloat, Branson sold the Virgin label to EMI for £500 million. Branson says that he wept when the sale was completed since the record business had been the birth of the Virgin Empire. He later formed V2 Records to re-enter the music business.



Business ventures




Branson formed Virgin Atlantic Airways in 1984, launched Virgin Mobile in 1999, Virgin Blue in Australia (now named Virgin Australia) in 2000. He was 9th in the Sunday Times Rich List 2006, worth just over £3 billion. Branson wrote in his autobiography of the decision to start an airline:




My interest in life comes from setting myself huge, apparently unachievable challenges and trying to rise above them...from the perspective of wanting to live life to the full, I felt that I had to attempt it.





Another quote from him: "For me business is not about wearing suits, or keeping stockholders pleased. It's about being true to yourself, your ideas and focusing on the essentials"

In 1993, Branson took what many saw as being one of his riskier business exploits by entering into the railway business. Virgin Trains won the franchises for the former Intercity West Coast and Cross-Country sectors of British Rail.

Virgin acquired European short-haul airline Euro Belgian Airlines in 1996 and renamed it Virgin Express. In 2006, the airline was merged with SN Brussels Airlines forming Brussels Airlines. It also started a national airline based in Nigeria, called Virgin Nigeria. Another airline, Virgin America, began flying out of San Francisco International Airport in August 2007. Branson has also developed a Virgin Cola brand and even a Virgin Vodka brand, which has not been a very successful enterprise. As a consequence of these lacklustre performers, the satirical British fortnightly magazine Private Eye has been critical of Branson and his companies (see Private Eye image caption).

After the so-called campaign of "dirty tricks", British Airways settled the case, giving £500,000 to Branson and a further £110,000 to his airline and had to pay legal fees of up to £3 million. Branson divided his compensation (the so-called "BA bonus") among his staff.


On 25 September 2004, Branson announced the signing of a deal under which a new space tourism company, Virgin Galactic, will license the technology behind Spaceship One—funded by Microsoft co-Founder Paul Allen and designed by legendary American aeronautical engineer and visionary Burt Rutan—to take paying passengers into suborbital space. Virgin Galactic (wholly owned by Virgin Group) plans to make flights available to the public with tickets priced at US$200,000 using Scaled Composites White Knight Two.

Branson's next venture with the Virgin group is Virgin Fuels, which is set to respond to global warming and exploit the recent spike in fuel costs by offering a revolutionary, cheaper fuel for automobiles and, in the near future, aircraft. Branson has stated that he was formerly a global warming sceptic and was influenced in his decision by a breakfast meeting with Al Gore.

Branson has been tagged as a "transformational leader" in the management lexicon, with his maverick strategies and his stress on the Virgin Group as an organisation driven on informality and information, one that is bottom-heavy rather than strangled by top-level management.

On 21 September 2006, Branson pledged to invest the profits of Virgin Atlantic and Virgin Trains in research for environmentally friendly fuels. The investment is estimated to be worth $3 billion.

On 4 July 2006, Branson sold his Virgin Mobile company to UK cable TV, broadband, and telephone company NTL/NTL:Telewest for almost £1 billion. As part of the sale, the company pays a minimum of £8.5 million per year to use the Virgin name and Branson became the company's largest shareholder.[citation needed] The new company was launched with much fanfare and publicity on 8 February 2007, under the name Virgin Media. The decision to merge his Virgin Media Company with NTL was in order to integrate both of the companies' compatible parts of commerce. Branson used to own three quarters of Virgin Mobile, whereas now he owns 15 percent of the new Virgin Media company.

In 2006, Branson formed Virgin Comics and Virgin Animation, an entertainment company focussed on creating new stories and characters for a global audience. The company was founded with author Deepak Chopra, filmmaker Shekhar Kapur, and entrepreneurs Sharad Devarajan and Gotham Chopra.

Branson also launched the Virgin Health Bank on 1 February 2007, offering parents-to-be the opportunity to store their baby's umbilical cord blood stem cells in private and public stem cell banks.

In June 2006, a tip-off from Virgin Atlantic led US and UK competition authorities to investigate price-fixing attempts between Virgin Atlantic and British Airways. In August 2007, British Airways was fined £271 million over the allegations. Virgin Atlantic was given immunity for tipping off the authorities and received no fine—a controversial decision the Office of Fair Trading defended as being in the public interest.

On 9 February 2007, Branson announced the setting up of a new Global science and technology prize—The Virgin Earth Challenge—in the belief that history has shown that prizes of this nature encourage technological advancements for the good of mankind. The Virgin Earth Challenge will award $25 million to the individual or group who are able to demonstrate a commercially viable design which will result in the net removal of anthropogenic, atmospheric greenhouse gases each year for at least ten years without countervailing harmful effects. This removal must have long-term effects and contribute materially to the stability of the Earth's climate.

Branson also announced that he would be joined in the adjudication of the Prize by a panel of five judges, all world authorities in their respective fields: Al Gore, Sir Crispin Tickell, Tim Flannery, James E. Hansen, and James Lovelock. The panel of judges will be assisted in their deliberations by The Climate Group and Special Advisor to The Virgin Earth Prize Judges, Steve Howard.

Richard Branson got involved with football when he sponsored Nuneaton Borough for their January 2006 FA Cup 3rd round game against Middlesbrough. The game ended 1–1, and the Virgin brand was also on Nuneaton Borough's shirts for the replay which they eventually lost 2–5.



In August 2007, Branson announced that he bought a 20 percent stake in Malaysia's AirAsia X.



On 13 October 2007, Branson's Virgin Group sought to add Northern Rock to its empire after submitting an offer that would result in Branson personally owning 30% of the company, changing the company's name from Northern Rock to Virgin Money. The Daily Mail ran a campaign against his bid and Liberal Democrats' financial spokesperson Vince Cable suggested in the House of Commons that Branson's criminal conviction for tax evasion might be felt by some as a good enough reason not to trust him with public money .

On 10 January 2008, Branson's Virgin Healthcare announced that it would open a chain of health care clinics that would offer conventional medical care alongside homoeopathic and complementary therapies. The Financial Times reported that Ben Bradshaw, UK's health minister, welcomed the launch. "I am pleased that Virgin Healthcare is proposing to work with GPs to help develop more integrated services for patients."

Plans where GPs could be paid for referring National Health Service (NHS) patients to private Virgin services were abandoned in June 2008. The BMA warned the plan would "damage clinical objectivity", there would be a financial incentive for GPs to push patients towards the Virgin services at the centre. Plans to take over an NHS Practice in Swindon were subsequently abandoned in late September 2008.

In February 2009, Branson's Virgin organisation were reported as bidding to buy the former Honda Formula One team. Branson later stated an interest in Formula One but claimed that, before the Virgin brand became involved with Honda or any other team, Formula One would have to develop a more economically efficient and environmentally responsible image. At the start of the 2009 formula one season on 28 March, it was announced that Virgin would be sponsoring the new Brawn GP team., with discussions also under way about introducing a less "dirty" fuel in the medium term. After the end of the season and the subsequent purchase of Brawn GP by Mercedes, Branson invested in an 80% buyout of Manor Grand Prix with the team being renamed to Virgin Racing.

Branson and Tony Fernandes, owner of Air Asia and Lotus F1 Racing, had a bet for the 2010 F1 season where the team's boss should work on the winner's airline for a day dressed as a stewardess. Fernandes escaped as the winner of the bet, as Lotus Racing ended 10th in the championship, while Virgin Racing ended 12th and last.

Branson's Ninety Acres Culinary Center in New Jersey will open in December 2009 with a restaurant run by chef David Felton, cooking school, wine school and working farm. The culinary center is the first phase to turn Natirar, the King of Morocco’s former estate, into a luxury resort, spa and culinary center.

In 2010 Richard Branson became patron of the UK's Gordon Bennett 2010 gas balloon race, which has 16 hydrogen balloons flying across Europe.

In April 2010 Branson described the closure of large parts of European airspace owing to volcanic ash as "beyond a joke". Scientists later concluded that serious structural damage to aircraft could have occurred if passenger planes had continued to fly.



World record attempts




Richard Branson made several world record-breaking attempts after 1985, when in the spirit of the Blue Riband he attempted the fastest Atlantic Ocean crossing. His first attempt in the "Virgin Atlantic Challenger" led to the boat capsizing in British waters and a rescue by RAF helicopter, which received wide media coverage. Some newspapers called for Branson to reimburse the government for the rescue cost. In 1986, in his "Virgin Atlantic Challenger II", with sailing expert Daniel McCarthy, he beat the record by two hours. A year later his hot air balloon "Virgin Atlantic Flyer" crossed the Atlantic. With its 2,300,000 cubic feet (65,000 m3), this was the largest hot-air balloon, and the first to cross the Atlantic.

In January 1991, Branson crossed the Pacific from Japan to Arctic Canada, 6,700 miles (10,800 km), in a balloon of 2,600,000 cubic feet (74,000 m3). This broke the record, with a speed of 245 miles per hour (394 km/h).

Between 1995 and 1998 Branson, Per Lindstrand and Steve Fossett made attempts to circumnavigate the globe by balloon. In late 1998 they made a record-breaking flight from Morocco to Hawaii but were unable to complete a global flight before Bertrand Piccard and Brian Jones in Breitling Orbiter 3 in March 1999.

In March 2004, Branson set a record by travelling from Dover to Calais in a Gibbs Aquada in 1 hour, 40 minutes and 6 seconds, the fastest crossing of the English Channel in an amphibious vehicle. The previous record of six hours was set by two Frenchmen. The cast of Top Gear, Jeremy Clarkson, James May and Richard Hammond, attempted to break this record in an amphibious vehicle which they had constructed and, while successfully crossing the channel, did not break Branson's record.

In September 2008 Branson and his children made an unsuccessful attempt at an Eastbound record crossing of the Atlantic ocean under sail in the 99 feet (30 m) sloop Virgin Money. The boat, also known as Speedboat, is owned by NYYC member Alex Jackson, who was a co-skipper on this passage, with Branson and Mike Sanderson. After 2 days, 4 hours, winds of force 7 to 9 (strong gale), and seas of 40 feet (12 m), a 'monster wave' destroyed the spinnaker, washed a ten-man life raft overboard and severely ripped the mainsail. She eventually continued to St. George's, Bermuda. In March 2010 Richard tried for the world record of putting a round of golf in the dark at the Black Light Mini Golf in The Docklands, Melbourne, Australia. He succeeded in getting 41 on the par 45 course.



Television, film, and print





Branson has guest starred, usually playing himself, on several television shows, including Friends, Baywatch, Birds of a Feather, Only Fools and Horses, The Day Today, a special episode of the comedy Goodness Gracious Me and Tripping Over. Branson made several appearances during the nineties on the BBC Saturday morning show Live & Kicking, where he was referred to as 'the pickle man' by comedy act Trev and Simon (in reference to Branston Pickle).Branson also appears in a cameo early in XTC's "Generals and Majors" video.

He was also the star of a reality television show on Fox called The Rebel Billionaire: Branson's Quest for the Best (2004), in which sixteen contestants were tested for their entrepreneurship and sense of adventure. It did not succeed as a rival show to Donald Trump's The Apprentice and only lasted one season.

His high public profile often leaves him open as a figure of satire—the 2000 AD series Zenith features a parody of Branson as a super villain, as the comic's publisher and favoured distributor and the Virgin group were in competition at the time. He is also caricatured in The Simpsons episode "Monty Can't Buy Me Love" as the tycoon Arthur Fortune, and as the ballooning megalomaniac Richard Chutney (a pun on Branson, as in Branston Pickle) in Believe Nothing. The character Grandson Richard 39 in Terry Pratchett's Wings is modelled on Branson.

He has a cameo appearance in several films: Around the World in 80 Days (2004), where he played a hot-air balloon operator; Superman Returns, where he was credited as a 'Shuttle Engineer' and appeared alongside his son, Sam, with a Virgin Galactic-style commercial suborbital shuttle at the centre of his storyline. He also has a cameo in the James Bond film Casino Royale. Here, he is seen as a passenger going through Miami Airport security check-in and being frisked – several Virgin Atlantic planes appear soon after. British Airways edited out Branson's cameo in their in-flight screening of the movie.

He makes a number of brief and disjointed appearances in the cult classic documentary Derek and Clive Get the Horn which follows the exploits of Peter Cook and Dudley Moore recording their last comedy album. Branson and his mother were also featured in the documentary film, Lemonade Stories. In early 2006 on Rove Live, Rove McManus and Sir Richard pushed each other into a swimming pool fully clothed live on TV during a "Live at your house" episode.

Branson is a Star Trek fan and named his new spaceship VSS Enterprise in honour of the famous Star Trek ships, and in 2006, offered actor William Shatner a free ride on the inaugural space launch of Virgin Galactic. In an interview in Time magazine, 10 August 2009, Shatner claims that Branson approached him asking how much he would pay for a ride on the spaceship. In response, Shatner asked "how much would you pay me to do it?"

In August 2007, Branson announced on The Colbert Report that he had named a new aircraft Air Colbert. He later doused political satirist and talk show host Stephen Colbert with water from his mug. Branson subsequently took a retaliatory splash from Colbert. The interview quickly ended, with both laughing as shown on the episode aired on Comedy Central on 22 August 2007. The interview was promoted on The Report as the Colbert-Branson Interview Trainwreck. Branson then made a cameo appearance on The Soup playing an intern working under Joel McHale who had been warned against getting into water fights with Stephen Colbert, and being subsequently fired.

In March 2008 he launched Virgin Mobile in India and during that period, he even played a cameo performance in Bollywood film, London Dreams.

In July 2010, Branson narrated Australian sailor Jessica Watson's documentary about her solo sailing trip around the world. It premiered on ONEHD on 16 August 2010.

In April 2011 Branson appeared on CNN's Mainsail with Kate Winslet. Together they reenacted a famous scene from the 1997 film Titanic for the cameras. On August 17, 2011, he was featured in the premier episode of Hulu's first long-form original production entitled, A Day in the Life.



Activism


Humanitarian initiatives




In the late 1990s, Branson and musician Peter Gabriel discussed with Nelson Mandela their idea of a small, dedicated group of leaders, working objectively and without any vested personal interest to solve difficult global conflicts.

On 18 July 2007, in Johannesburg, South Africa, Nelson Mandela announced the formation of a new group, The Elders, in a speech he delivered on the occasion of his 89th birthday. The founding members of this group are Desmond Tutu, Graça Machel, Kofi Annan, Ela Bhatt, Gro Harlem Brundtland, Jimmy Carter, Li Zhaoxing, Mary Robinson, and Muhammad Yunus. The Elders is independently funded by a group of "Founders", including Branson and Gabriel.

Desmond Tutu serves as the chair of The Elders—who will use their collective skills to catalyse peaceful resolutions to long-standing conflicts, articulate new approaches to global issues that are causing or may cause immense human suffering, and share wisdom by helping to connect voices all over the world. They will work together over the next several months to carefully consider which specific issues they will approach.

Branson's other work in South Africa includes the Branson School of Entrepreneurship, set up in 2005 as a partnership between Virgin Unite, the non-profit foundation of Virgin, and entrepreneur Taddy Bletcher, the founder of CIDA City Campus, a university in Johannesburg. The school aims to improve economic growth in South Africa by supporting start-ups and micro-enterprises with skills, mentors, services, networks and finance arrangements. Fundraising activity to support the school is notably achieved by the Sunday Times Fast Track 100, sponsored by Virgin Group, at its yearly event, where places to join Richard Branson on trips to South Africa to provide coaching and mentoring to students are auctioned to attendees. In 2009, Jason Luckhurst and Boyd Kershaw of Practicus, Martin Ainscough of the Ainscough Group and Matthew Riley of Daisy Communications helped raise £150,000 through the auction.

In September 2007, Richard Branson chaired the jury of the first Picnic Green Challenge, a €500,000 award for best new green initiative, set up by the Dutch "Postcode Loterij" (postcode lottery) and the PICNIC Network of creative professionals. The first Green Challenge was won by Qurrent with the Qbox.

Branson was the first celebrity guest for the popular charity fund raisers, Reserve Dinners, raising over $75,000 in one evening towards his Virgin Unite charity.

In March 2008, Richard Branson hosted an environmental gathering at his private island, Necker Island, in the Caribbean with several prominent entrepreneurs, celebrities, and world leaders. They discussed global warming-related problems facing the world, hoping that this meeting will be a precursor to many more future discussions regarding similar problems. Former British Prime Minister Tony Blair, Wikipedia co-founder Jimmy Wales, and Larry Page of Google were in attendance.

Branson has been very supportive of Kenya during its troubles, and in May 2008 had gone to Masai Mara to open a new school (Sekenani Primary School) which has also been partly funded by Virgin Atlantic frequent flyers who volunteered their time to help with the construction. A documentary of the experience was directed by Carolyn Scott-Hamilton and filmed by David Collupy.

On 8 May 2009, Branson took over Mia Farrow's hunger strike in protest of the Sudanese government expulsion of aid groups from the Darfur region. He concluded his scheduled 3-day fast on 11 May. Later that year, he joined the project Soldiers of Peace, a movie against all wars and for a global peace.

Richard Branson is a signatory of Global Zero (campaign), a non-profit international initiative for the elimination of all nuclear weapons worldwide. Since its launch in Paris in December 2008, Global Zero (campaign) has grown to 300 leaders, including current and former heads of state, national security officials and military commanders, and 400,000 citizens worldwide; developed a practical step-by-step plan to eliminate nuclear weapons; launched an international student campaign with 75 campus chapters in eight countries; and produced an acclaimed documentary film, Countdown to Zero, in partnership with Lawrence Bender and Participant Media.

Since 2010, Branson has served as a Commissioner on the Broadband Commission for Digital Development, a UN initiative which promotes universal access to broadband services.

In 2011, Branson served on the Global Commission on Drug Policy with former political and cultural leaders of Latin America and elsewhere, "in a bid to boost the effort to achieve more humane and rational drug laws."



Politics




In the 1980s, he was briefly given the post of "litter Tsar" by Margaret Thatcher—charged with "keeping Britain tidy". He was again seen as close to the government when the Labour Party came to power in 1997. In 2005 he declared that there were only negligible differences between the two main parties on economic matters. He has frequently been mentioned as a candidate for Mayor of London, and polls have suggested he would be a viable candidate, though he has yet to express interest.



Business practices




Branson's business empire is owned by a complicated series of offshore trusts and companies. The Sunday Times stated that his wealth is calculated at £3.065 billion; if he were to retire to his Caribbean island and liquidate all of this he would pay relatively little in tax.



Honours and awards




In 1993, Branson was awarded an honorary degree of Doctor of Technology from Loughborough University.

In the New Years Honours list dated 30 December 1999, HM The Queen signified her intention to confer the honour of Knight Bachelor on him for his "services to entrepreneurship". He was knighted by HRH The Prince of Wales on 30 March 2000 at an investiture in Buckingham Palace.

Also, in 2000, Branson received the 'Tony Jannus Award' for his accomplishments in commercial air transportation.

Branson is the patron of several charities, including the International Rescue Corps and Prisoners Abroad, a registered charity which supports Britons who are detained outside of the UK.

Branson appears at No. 85 on the 2002 list of "100 Greatest Britons" (sponsored by the BBC and voted for by the public). Sir Richard also ranks No. 86 on Channel 4's 2003 list of "100 Worst Britons". Sir Richard was also ranked in 2007's Time Magazine "Top 100 Most Influential People in the World". In 2009, Branson was voted the UK's "Celebrity Dream Boss" in an opinion poll by Cancer Research UK.

On 7 December 2007, United Nations Secretary General Ban Ki-Moon presented Branson with the United Nations Correspondents Association Citizen of the World Award for his support for environmental and humanitarian causes.

On 24 January 2011 Branson has been awarded the German Media Prize (organised by "Media Control Charts" ), previously handed to former U.S. president Bill Clinton and the Dalai Lama.



Personal life




Branson is the eldest of four siblings. He has two sisters, Andrea and Vanessa Branson. His brother, Tom, followed in their father's footsteps and became a barrister. Branson's poor academic records contrasted with excellent performance in sports, especially swimming.

With his wife Joan Templeman he has a daughter Holly (b. 1981) and son Sam (b. 1985). He stated in an interview with Piers Morgan that he and wife Joan had a daughter named Clare Sarah who died when she was just four days old in 1979. The couple wed—at their daughter Holly's suggestion when she was eight years old—in 1989 at Necker Island, a 74-acre (30 ha) island in the British Virgin Islands that Branson owns. He also owns land on the Caribbean Islands of Antigua and Barbuda. Holly Branson is now a doctor and is a keen supporter of the football team Oxford United.

In 1998, Branson released his autobiography, titled Losing My Virginity, an international bestseller.

Branson was deeply saddened by the disappearance of fellow adventurer Steve Fossett in September 2007; and, the following month, he wrote an article for Time magazine, titled "My Friend, Steve Fossett".



Influences




Branson has stated in a number of interviews that he derives much influence from non-fiction books. He most commonly names Nelson Mandela's autobiography, Long Walk to Freedom, explaining that Mandela is "one of the most inspiring men I have ever met and had the honour to call my friend." Owing to his interest in humanitarian and ecological issues, Branson also lists Al Gore's best-selling book, An Inconvenient Truth and The Revenge of Gaia by James Lovelock amongst his favourites. According to Branson's own book, Screw It, Let's do It. Lessons in Life, he is also a huge fan of works by Jung Chang.



See also





Notes



  1. ^ Richard Branson topic page. Forbes.com. Retrieved April 2011.
  2. ^ "This is London". This is London. 2010-11-26. http://www.thisislondon.co.uk/standard-home/article-23897620-londons-1000-most-influential-people-2010-tycoons-and-retailers.do. Retrieved 2011-06-11.
  3. ^ Hawn, Carleen (1 August 2006). "Branson's Next Big Bet". CNN. http://money.cnn.com/magazines/business2/business2_archive/2006/08/01/8382250/. Retrieved 22 May 2010.
  4. ^ Forbes.com. Retrieved November 2010.
  5. ^ a b "Edward Branson". The Daily Telegraph (London). 8 May 2011. http://www.telegraph.co.uk/news/obituaries/law-obituaries/8501350/Edward-Branson.html.
  6. ^ "Births", The Times, 12 July 1950, pg. 1
  7. ^ "Forthcoming Marriages", The Times, 22 June 1949, pg.7.
  8. ^ "Welcome to Bishopsgate School". http://www.bishopsgateschool.co.uk/. Retrieved 19 September 2006.
  9. ^ "Famous people with Dyslexia". Dyslexiaonline.com. 30 March 2010. http://www.dyslexiaonline.com/famous/famous.htm. Retrieved 14 September 2010.
  10. ^ a b Richard Branson – Losing my Virginity
  11. ^ Another example was the "Net Book Agreement", which limited the ability of book outlets, including discount book clubs, to offer deep discounts.
  12. ^ "Profile: Richard Branson". The BBC. 27 September 2004. http://news.bbc.co.uk/1/hi/uk/3693588.stm. Retrieved 3 May 2010.
  13. ^ "Richard Branson and Virgin-Probably Britains best known Entrepreneur". Solar Navigator.net. http://www.solarnavigator.net/sponsorship/richard_branson.htm. Retrieved 3 May 2010.
  14. ^ Private Eye had been one of the few nationally distributed magazines that carried advertising for his mail-order business.
  15. ^ Lee Glendinning (2 August 2007). "Row over dirty tricks led to decade of hostilities". London: The Guardian. http://www.guardian.co.uk/business/2007/aug/02/theairlineindustry.britishairways. Retrieved 31 August 2011.
  16. ^ "ABC News: Breakfast With Al Gore Persuades Branson to Pledge Billions to Global Warming". Abcnews.go.com. 22 September 2006. http://abcnews.go.com/GMA/story?id=2477400. Retrieved 14 September 2010.
  17. ^ "Come fly with me, come give it away". http://www.thefirstpost.co.uk/index.php?menuID=1&subID=770. Retrieved 23 September 2006.
  18. ^ "Virgin Group to Invest $3 Billion in Renewable Energy". http://renewableenergyaccess.com/rea/news/story?id=46071. Retrieved 12 October 2006.
  19. ^ Fryer, Pat (23 January 2007). "Uma Thurman to promote Virgin Media". earthtimes.org. http://www.earthtimes.org/articles/show/23001.html. Retrieved 2 February 2007.
  20. ^ Ruth Sunderland (5 August 2007). "',OFT defends 'snitch' policy',, Ruth Sunderland, The Guardian, Sunday 5 August 2007". Guardian (London). http://www.guardian.co.uk/airlines/story/0,,2141647,00.html. Retrieved 14 September 2010.
  21. ^ Thelwell, Emma (10 August 2007). "Virgin Group buys AirAsia X stake". The Daily Telegraph (London). http://www.telegraph.co.uk/finance/markets/2813816/Virgin-Group-buys-AirAsia-X-stake.html. Retrieved 22 May 2010.
  22. ^ David Teather, Julia Finch and Graeme Wearden (13 October 2007). "Branson dangles offer for Northern Rock". London: Money.guardian.co.uk. http://money.guardian.co.uk/news_/story/0,,2190411,00.html. Retrieved 14 September 2010.
  23. ^ Phillip Inman (12 December 2007). "Northern Rock bidder threatens to pull out unless takeover date set , Business". The Guardian (UK). http://www.guardian.co.uk/business/2007/dec/13/northernrock.creditcrunch. Retrieved 14 September 2010.
  24. ^ "/ World – Branson launches healthcare business". Financial Times. 10 January 2008. http://www.ft.com/cms/s/0/7f5d8f32-bfa0-11dc-8052-0000779fd2ac.html. Retrieved 14 September 2010.
  25. ^ "Virgin amends its profit plans". / Healthcare Republic. 11 July 2008. http://www.healthcarerepublic.com/news/829970. Retrieved 14 September 2010.
  26. ^ "Virgin drops GP practice plans". / Nursing in Practice. 22 September 2008. http://www.nursinginpractice.com/default.asp?title=VirgindropsGPpracticeplans&page=article.display&article.id=13581. Retrieved 14 September 2010.
  27. ^ [1][dead link]
  28. ^ Branson eyes F1 fuel revolution[dead link]
  29. ^ "UpdateF1 >> Formula 1 News > FIA release 2010 entry list". Formula-1.updatesport.com. 12 June 2009. http://formula-1.updatesport.com/news/article/1244801351/formula_one/F1headlines/FIA-release-2010-entry-list/view.html. Retrieved 1 November 2009.
  30. ^ "Virgin set for Manor GP move". Autosport.com. http://www.autosport.com/news/report.php/id/76653. Retrieved 14 September 2010.
  31. ^ Squires, Kathleen (17 November 2009). "Cooking Back to Natirar". Zagat.com. http://www.zagat.com/Blog/Detail.aspx?SNP=NNYC&SCID=40&BLGID=25051. [dead link]
  32. ^ "Welcome! , 54th Coupe Aéronautique Gordon Bennett 2010 Official Site". Gordonbennett2010.com. http://www.gordonbennett2010.com. Retrieved 14 September 2010.
  33. ^ Independent.ie Blog:. "Steve Connor: Airspace closure due to ash cloud fears 'was right move'". Irish Independent. http://www.independent.ie/opinion/analysis/steve-connor-airspace-closure-due-to-ash-cloud-fears-was-right-move-2629069.html. Retrieved 2011-06-11.
  34. ^ BBC News (14 June 2004). "Branson sets cross-Channel record". BBC News. http://news.bbc.co.uk/2/hi/uk_news/england/coventry_warwickshire/3805275.stm. Retrieved 13 June 2007.
  35. ^ "Richard Branson sets out to crack transatlantic sail record". www.meeja.com.au. 3 September 2008. http://www.meeja.com.au/index.php?display_article_id=158. Retrieved 3 September 2008.
  36. ^ "Virgin Money Is Attempting to Break Transatlantic Passage Record". www.nyyc.org. 23 October 2008. http://www.nyyc.org/archives_public/. Retrieved 23 October 2008.
  37. ^ "on". Saturdaymornings.co.uk. http://www.saturdaymornings.co.uk/bbccatalogueprog.shtml?show=livekicking&number=LCKW533F. Retrieved 14 September 2010.
  38. ^ "BA cuts Branson from Bond movie". BBC News. 21 April 2007. http://news.bbc.co.uk/2/hi/entertainment/6579839.stm. Retrieved 14 September 2010.
  39. ^ "Colbert Report – Richard Branson". Comedy Central. 2011-05-26. http://www.comedycentral.com/motherload/index.jhtml?ml_video=91955. Retrieved 2011-06-11.
  40. ^ "Neha Dhupia swept off her feet by Richard Branson : Bollywood News". ApunKaChoice.Com. 4 March 2008. http://www.apunkachoice.com/scoop/bollywood/20080304-2.html. Retrieved 14 September 2010.
  41. ^ "Show Pages - MainSail - CNN.com". 31 May 2011. http://edition.cnn.com/CNNI/Programs/main.sail.
  42. ^ TheHyperbot1 (2011-04-22). "‪Branson, Winslet - Titanic Scene ‬‏". YouTube. http://www.youtube.com/watch?v=zf9W7w_9T1U. Retrieved 2011-06-11.
  43. ^ "Morgan Spurlock 'A Day In The Life': Original Series Premieres On Hulu (VIDEO)". The Huffington Post. 2011-08-17. http://www.huffingtonpost.com/2011/08/17/morgan-spurlock-a-day-in-the-life_n_929008.html. Retrieved 2011-09-08.
  44. ^ a b Nelson Mandela and Desmond Tutu Announce The Elders – An Historic Group of World Leaders (Press release). Global Elders. 18 July 2007. http://dl.groovygecko.net/anon.groovy/clients/akqa/projectamber/press/The_Elders-Press_Release.pdf. Retrieved 3 March 2009. [dead link]
  45. ^ "Virgin Unite". Virgin Unite. http://www.virginunite.com/Templates/News.aspx?nid=96e9b78a-cc3b-4c6e-b4e4-bc0ba18184c1&cid=f010e54f-209d-4736-8586-0a24ae2f35b2&id=85b159fd-d3cd-482f-b2a4-fd47945eb87a/. Retrieved 14 September 2010.
  46. ^ Fast Track 100 entrepreneurs raise gbp 150,000 in charity auction for South African students[dead link]
  47. ^ [2] Reserve Dinners
  48. ^ "Thinking Green While Sifting Through the Sand" New York Times article published 22 March 2008
  49. ^ Farrow ends Darfur protest fast (Press release). BBC. 9 May 2009. http://news.bbc.co.uk/2/hi/entertainment/8041777.stm. Retrieved 4 January 2010.
  50. ^ "Richard Branson — The Cast — Soldiers of Peace". Soldiersofpeacemovie.com. http://www.soldiersofpeacemovie.com/about/the-cast/14/sir-richard-branson/. Retrieved 18 October 2009.
  51. ^ "Soldati di Pace (Soldiers of Peace)". Soldatidipace.blogspot.com. 26 February 2004. http://www.soldatidipace.blogspot.com/. Retrieved 18 October 2009.
  52. ^ "Group Offers Plan to Eliminate Nukes by 2030". The New York Times. 29 June 2009. http://www.globalzero.org/files/pdf/NYT_Jun29_09_AP_Syndicated.pdf.
  53. ^ Corera, Gordon (10 December 2008). "Group seeks nuclear weapons ban". BBC. http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/7774584.stm.
  54. ^ Clift, Eleanor. "A Good Start: 'Global Zero' reminds us that eradicating nuclear weapons should still be our ultimate goal.". Newsweek. http://www.newsweek.com/id/236133.
  55. ^ "Commissioners". Broadbandcommission.org. http://www.broadbandcommission.org/commissioners.html. Retrieved 2011-06-11.
  56. ^ Smith, Phillip (January 27, 2011). "Ex-World Leaders Form Global Drug Policy Commission". stopthedrugwar.org. http://stopthedrugwar.org/chronicle/2011/jan/26/exworld_leaders_form_global_drug. Retrieved 2011-07-12.
  57. ^ "Britsaver-an accident waiting to happen.". The Times (London). 3 December 2005. http://business.timesonline.co.uk/tol/business/columnists/article745236.ece. Retrieved 27 August 2007
  58. ^ Heintke, Martina. "Sir Richard Branson". Archived from the original on 17 August 2007. http://web.archive.org/web/20070817055553/http://www.pointmade.co.uk/news_letters_6.htm. Retrieved 27 August 2007
  59. ^ "Labour and Tories same – Branson". BBC News. 15 April 2005. http://news.bbc.co.uk/1/hi/uk_politics/vote_2005/frontpage/4450641.stm. Retrieved 23 September 2006.
  60. ^ "Do Blacks Need a New London Mayor?" (– Scholar search). Archived from the original on 3 October 2006. http://web.archive.org/web/20061003034349/http://www.thechronicle.demon.co.uk/archive/londmayo.htm. Retrieved 27 August 2007
  61. ^ "Londoners snub politicians for mayor". BBC News (BBC News). 28 April 1998. http://news.bbc.co.uk/1/hi/special_report/1998/london_referendum/84708.stm. Retrieved 27 August 2007
  62. ^ "Who's in the running for mayor?". BBC News (BBC News). 10 April 1998. http://news.bbc.co.uk/1/hi/special_report/1998/london_referendum/73363.stm. Retrieved 27 August 2007
  63. ^ Watson, Roland. "The Sunday Times: Britain". The Times (London). http://www.timesonline.co.uk/article/0,,2087-2483988_2,00.html. Retrieved 1 January 2007. [dead link]
  64. ^ Official announcement knighthood. The London Gazette. 30 December 1999.
  65. ^ "New Years Honours". BBC News. 31 December 1999. http://news.bbc.co.uk/1/hi/special_report/1999/12/99/new_years_honours/584131.stm. Retrieved 23 September 2006.
  66. ^ "Virgin tycoon is knighted". BBC News. 30 March 2000. http://news.bbc.co.uk/1/hi/uk/695511.stm. Retrieved 15 January 2011.
  67. ^ "Branson beats Obama as celebrity dream boss", Cancer Research UK website. Retrieved 12 August 2009.
  68. ^ "UNITED NATIONS CORRESPONDENTS ASSOCIATION (UNCA) AWARDS CITIZEN OF THE WORLD AWARD TO RICHARD BRANSON AND HONOURS OTHER LEADING JOURNALISTS". MaximsNews Network. 7 December 2007. http://www.maximsnews.com/107mnundecember06unitednationscorrespondentsassociationdinner.htm. Retrieved 12 December 2007.
  69. ^ 22 February 2009 (22 February 2009). "Piers Morgan interviews Richard Branson, Richard talks about death of baby". Baby Chums. http://www.babychums.com/2009/02/richard-bransons-baby-death-talks-to-piers-morgan/. Retrieved 14 September 2010.
  70. ^ Bussmann, Jane (23 April 2001). "Necker Island Richard Branson's exclusive retreat". Daily Mail (UK). http://www.dailymail.co.uk/travel/holidaytypeshub/article-586850/Necker-Island-Richard-Bransons-exclusive-retreat.html.
  71. ^ "Branson: Why it's no to United". The Oxford Times. 24 September 1998. http://archive.theoxfordtimes.net/1998/9/24/84201.html:. Retrieved 14 September 2010. [dead link]
  72. ^ "Losing My Virginity – How I’ve Survived, Had Fun, And Made a Fortune Doing Business My Way". Bestsellersreviews.com. 2010-07-03. http://www.bestsellersreviews.com/losing-my-virginity-how-ive-survived-had-fun-and-made-a-fortune-doing-business-my-way-richard-branson-1999. Retrieved 2011-06-11.
  73. ^ Branson, Richard (10 October 2007). "',Time',". TIME. http://www.time.com/time/nation/article/0,8599,1670216,00.html. Retrieved 14 September 2010.
  74. ^ Lovelockdetails, James. "',Richard Branson's reading influences',". Infloox.com. http://www.infloox.com/person?id=7bb9503d. Retrieved 14 September 2010.


References




  • Branson, Richard. Losing My Virginity: How I've Survived, Had Fun, And Made a Fortune Doing Business My Way, 1999, Three Rivers Press. ISBN 0-8129-3229-3
  • Branson, Richard. Losing My Virginity, Revised Edition First Published in Great Britain by Virgin Books Limited, London, 2002
  • Branson, Sir Richard and Prescott, Colin. To the Edge of Space: The Adventures of a Balloonist, 2000, Box tree. ISBN 0-7522-1865-4
  • Branson, Sir Richard. Sir Richard Branson, the Autobiography, 2002, Longman. ISBN 0-582-51224-7
  • Branson, Sir Richard. Losing my virginity: The autobiography, 2005, ISBN 0-7535-1020-0
  • Bower, Tom. Branson, 2001, ISBN 1-84115-400-8
  • Branson, Sir Richard. Screw It, Let's Do It: Lessons in Life, 2006, ISBN 0-7535-1099-5
  • Branson, Sir Richard. Screw It, Let's Do It Expanded: Lessons in Life and Business, 2007, ISBN 0-7535-1149-7
  • Specter, Michael. "Profiles: Branson's Luck". The New Yorker, 14 May 2007, pp. 114–25.


Bibliography







External links








Richard Branson Sir Richard Branson gestures during the official launch of the new Virgin Active, health and fitness club on February 23, 2009 in Melbourne, Australia.  (Photo by Scott Barbour/Getty Images) *** Local Caption *** Sir Richard Branson

Richard Branson - The World Dubai


Sir Richard Branson Kite Surfs to Cottesloe Beach for Strike a Cord for Cancer Foundation Function in Perth Western Australia.




วิดีโอ YouTube












ริชาร์ด แบรนสัน



ริชาร์ด แบรนสัน เป็นใคร สำคัญอย่างไรจึงต้องพูดถึง คนทั่วไปอาจจะจำชื่อไม่ค่อยได้ว่าริชาร์ด แบรนสัน เป็นใคร แต่ถ้าบอกว่าเขาคือนักธุรกิจที่หน้าตาเหมือนสิงโต ชีวิตมีแต่การผจญภัย โลดโผน ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางรอบโลกด้วยบอลลูน ทำสถิติข้ามมหาสมุทรแอ็ตแลนติด ทำโครงการทัวร์อวกาศ ล่าสุดดำริโครงการท่องก้นบึ้งมหาสมุทร ก็คงจะเห็นภาพของริชาร์ด แบรนสันได้ชัดขึ้น แต่อาจจะไม่ชัดลึกพอ เพราะถ้าไปศึกษาประวัติของริชาร์ด แบรนสันแล้วจะพบว่าเขาคือตัวจริงของคนที่สมควรได้ชื่อว่าทำเรื่องตั้งแต่ไม้จิ้มฟันยันเรือรบขนานแท้



ประวัติ


ริชาร์ด ชาร์ลส์ นิโคลัส แบรนสัน เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1950 ที่ เซาท์ลอนดอน ในครอบครัวชนชั้นกลางของอังกฤษ ซึ่งยึดอาชีพทางด้านกฎหมายจนกลายเป็นธรรมเนียมตกทอดของตระกูล ในขณะที่ตัวแบรนสัน เลือกที่จะไม่ดำเนินรอยตามพ่อและปู่ พ่อของริชาร์ด แบรนสัน คือ ?เท็ด? หรือเอ็ดเวิร์ด เจมส์ แบรนสัน (Edward James Branson) เป็นผู้พิพากษาและเป็นนักกฎหมาย และมีปู่คือ เซอร์จอร์จ อาร์เธอร์ ฮาร์วิน แบรนสัน (Sir George Arthur Harwin Branson) เป็นตุลาการของศาลสูงอังกฤษและเป็นองคมนตรี ส่วนแม่คืออีฟ ฮันต์ลีย์-ฟลินต์ แบรนสัน เคยเป็นทั้งนักเต้นรำและนักแสดงของโรงละคร และผันตัวเองมาเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินตอนที่ได้พบกับเท็ด แบรนสัน


แม่คือบุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อชีวิตของเขาให้เป็นอย่างในปัจจุบัน และอุปนิสัยรักการผจญภัยของแบรนสัน นั้นได้รับการถ่ายทอดมาจากผู้เป็นแม่ เพราะเท็ดพ่อของแบรนสันนั้นเป็นคนที่ค่อนข้างจะสงบเสงี่ยม แม่ของแบรนสัน เป็นคนที่กระตือรือร้นและมุ่งมั่นกล้าหาญมาก เพราะในสมัยที่ผู้หญิงไม่กี่คนสามารถขับรถยนต์ได้ แต่แม่ของแบรนสันสามารถบินเครื่องร่อนได้เป็นอย่างดี เพราะเคยฝึกบินกับนักเรียนนายร้อยของ
กองทัพอากาศในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดังนั้นลูกๆ ในตระกูลแบรนสันจึงมีแม่เป็นผู้เลี้ยงดูโดยที่ไม่เข้มงวด แต่จะถูกเลี้ยงให้สามารถพึ่งตัวเองได้ มีความรับผิดชอบ ให้เป็นเด็กแข็งแรง กระฉับกระเฉง มีพลัง และกล้าหาญ


เธอเชื่อว่าความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคของลูกๆ จะกระตุ้นจิตวิญญาณในตัวลูกๆ ดังนั้นอีฟจึงสรรหากิจกรรม เกม และโครงการต่างๆ ที่มีประโยชน์ให้ลูกๆ ทำในช่วงวันหยุดพักผ่อนและวันหยุดสุดสัปดาห์ และแน่นอนว่ากิจกรรมเหล่านี้ต้องสนุกด้วย บ้านของเขาไม่มีโทรทัศน์ ไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพราะแม่ของเขาเชื่อว่าจะทำให้เด็ก ๆเสียเวลา นิสัยที่ขี้อายของลูกๆ คือมารยาทที่ไม่ดี การหมกมุ่นอยู่กับตัวเองคือนิสัยที่ขี้ขลาด ส่วนเท็ดจะเป็นพ่อที่ไม่เข้มงวดกับลูก อยู่ใกล้ชิดลูกๆ และจะคาดหวังในตัวลูกๆ น้อยกว่าแม่


ตอนที่เขามีอายุได้เพียง 4 ขวบ แม่ของเขาจอดรถระหว่างทางที่อยู่ไกลจากบ้านประมาณ 2-3 ไมล์ และบอกให้เขาหาทางกลับบ้านเองโดยให้เดินข้ามทุ่งกลับบ้าน และตัวเขาเองก็หลงทาง และไปโผล่เอาที่ฟาร์มของเพื่อนบ้านแทนที่จะเป็นบ้านของตนเอง



ในเช้ามืดวันหนึ่งของเดือนมกราคมที่ทั้งมืดทั้งหนาว แม่ปลุกแบรนสันตั้งแต่เช้ามืดเพราะจะให้เขาขี่จักรยานไปที่เมืองบอร์นเมาท์เองในเช้าของวันนั้น โดยแม่ทำแซนวิชและแอปเปิ้ลให้เขานำไปกินระหว่างทาง และบอกกับเขาว่าส่วนน้ำดื่มนั้นให้ไปหาเอาเองระหว่างทาง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายเลยสำหรับเด็กที่มีอายุยังไม่ถึง 12 ปีที่จะขี่จักรยานไปเมืองเมืองนี้ที่ห่างจากบ้านของเขาถึง 50 ไมล์ แต่แม่ของเขาเชื่อว่าประสบการณ์นี้จะสอนให้เขารู้จักกับความทรหดอดทนและเรียนรู้เรื่องทิศทาง หลังจากที่ขี่จักรยานไปเมืองบอร์นเมาท์และกลับมาถึงบ้านแล้ว เขาเดินตรงดิ่งเข้าไปในครัวด้วยความรู้สึกเหมือนเป็นวีรบุรุษที่ได้รับชัยชนะมาจากการขี่จักรยานแบบมาราธอนและคิดว่าจะได้รับการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่จากแม่ แต่พอเข้าไปหาแม่ในครัวที่กำลังหั่นหัวหอมอยู่ แม่ของเขาก็พูดเพียงแค่ว่า ?ทำได้ดีมาก ริคกี้ สนุกไหมลูก ตอนนี้ลูกช่วยวิ่งไปที่บ้านท่านผู้ช่วยบิช็อปได้ไหม พอดีท่านมีฟืนที่ต้องผ่า แล้วแม่ก็บอกท่านไปว่าเดี๋ยวลูกจะกลับมาช่วยอีกไม่กี่นาทีนี้แล้วล่ะ?



ประสบการณ์ความท้าทายและการฝึกให้ช่วยเหลือตัวเอง ที่แบรนสันได้รับจากการเลี้ยงดูของแม่ในวัยเด็กนั้น เป็นเรื่องทางกำลังกายมากกว่ากำลังสมอง ดังนั้นแบรนสันจึงเป็นเด็กที่ชอบเล่นกีฬามากกว่าเรียน
หนังสือ เพราะสมัยเรียนแบรนสันเป็นเด็กที่เรียนได้แย่มาก แต่เล่นกีฬาเก่งมาก ทำให้พ่อแม่ของเขาค่อนข้างเป็นห่วง แบรนสันเรียนที่โรงเรียนสไกต์คลิฟ (Scaitcliffe School) ปัจจุบันโรงเรียนนี้รู้จักกันในชื่อของโรงเรียนบิช็อปเกต (Bishopsgate School) จนกระทั่งมีอายุได้ 13 ปี แบรนสันประสบอุบัติเหตุระหว่างเล่นกีฬาที่ขาทำให้อนาคตการเป็นนักกีฬาที่มีวี่แววว่าจะไปรุ่งของแบรนสันดับลงไปด้วย จากนั้นเขาจึงเข้าเรียนที่โรงเรียนสโตเว (Stowe School) ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำชายที่ขึ้นชื่อในเรื่องการให้อิสระแก่นักเรียน แต่เขาก็ไม่สนใจเรื่องการเรียนอยู่ดีถึงแม้ว่าจะเป็นนักกีฬาไปไม่ได้แล้วก็ตาม และมีผลการเรียนที่ดีไม่พอที่จะประกอบอาชีพนักกฎหมายตามรอยพ่อและปู่ได้และไม่สามารถประกอบวิชาชีพอื่นๆ ได้เช่นกัน



สาเหตุหนึ่งที่เขาเรียนอ่อนเพราะเป็นโรคดีสเล็กเซีย ซึ่งโรคนี้ทำให้เขากลายเป็นเด็กที่มีปัญหาเรื่องเรียนจนกระทั่งทำให้เขาไม่ได้เรียนหนังสือในชั้นสูงๆ อย่างที่ควรจะเป็น โรคนี้เป็นโรคที่ทำให้เกิดความผิดปกติในการอ่าน อาการของโรคนี้คือเด็กอาจจะอ่านไม่ออก หรืออ่านได้บ้าง แต่สะกดคำไม่ถูก ผสมคำไม่ได้ สลับตัวพยัญชนะ สับสนกับการผันสระ วรรณยุกต์ บางทีมัวแต่สะกดคำ ทำให้อ่านแล้วจับใจความไม่ได้ ซึ่งสมัยนั้นยังไม่มีใครรู้จักโรคนี้ดีพอ ตัวแบรนสันเองก็คิดว่าการเรียนหนังสือเป็นสิ่งที่ยากลำบากมากสำหรับเขาโดยเฉพาะเวลาที่ต้องอ่านหนังสือ


เมื่อแบรนสันเรียนรู้ผ่านการเรียนหนังสือไม่ได้เขาจึงต้องเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ เมื่อตอนที่มีอายุได้ 15 ปี แบรนสันเริ่มต้นทำธุรกิจ 2 อย่าง อย่างแรกคือปลูกต้นคริสมาสขายในช่วงเทศกาลอีสเตอร์ และอย่างที่สองคือเพาะเลี้ยงนกแก้วออสเตรเลียที่มีขนสีเขียวเป็นลายดำและเหลืองไว้ขาย แต่ธุรกิจทั้งสองนี้กลับเจ๊งไม่เป็นท่า แต่เขากลับเข้าใจในการบริหารจัดการที่จะทำธุรกิจบางอย่างมากกว่าเดิม เขาไม่คิดที่จะเลิกทำธุรกิจใหม่ๆ และคิดมองหาลู่ทางลงทุนทำอะไรสักอย่างอยู่เสมอ



เมื่ออายุ 16 ปี แบรนสันลงมือทำนิตยสารที่มีชื่อว่า ?Student? ซึ่งเป็นนิตยสารรายเดือนสำหรับเด็กวัยรุ่นระดับมหาวิทยาลัย เพื่อเป็น ?เสียงของคนหนุ่มสาว? โดยมีแม่เป็นผู้ให้การสนับสนุน


เมื่อตอนฤดูร้อนปี ค.ศ. 1967 แบรนสันตัดสินใจออกจากโรงเรียนตั้งแต่อายุยังน้อย เพราะตอนนั้นแบรนสันมีอายุได้เพียง 17 ปี เขาต้องการที่จะเลิกเรียนเพื่อสานต่อธุรกิจนิตยสารของเขาที่กำลังไปได้ด้วยดี เขาย้ายไปอยู่ที่กรุงลอนดอน เพื่อเริ่มต้นลงมือทำธุรกิจของตัวเองอย่างจริงจัง ตอนแรกๆ สำนักงานของแบรนสัน
คือการอาศัยห้องใต้ดินบ้านเพื่อนบ้าง โบสถ์ร้างบ้าง ส่วนทีมงานก็คือเพื่อนฝูงและคนคุ้นเคยที่ไม่ได้เงินเดือน แบรนสันจะจัดหาที่นอนและอาหารให้ ซึ่งคนเหล่านี้จะคอยช่วยจัดทำหนังสือบ้าง จัดจำหน่ายหนังสือบ้าง และบ่อยครั้งยังช่วยรับหน้าเจ้าหนี้แทน และนิตยสารฉบับนี้ประสบความสำเร็จมาก มียอดพิมพ์สูงถึง 100,000 ฉบับ ความสำเร็จของนิตยสารของแบรนสันน่าจะมาจากการที่นิตยสารฉบับนี้มีรูปแบบที่โดดเด่น และนำเสนอแต่สิ่งที่ดีที่สุด




นอกจากจะทำนิตยสารแล้ว เขายังเปิด ?ศูนย์แนะแนวนักเรียน? ที่มีจุดประสงค์เพื่อช่วยเหลือเด็กวัยรุ่น ซึ่งพอจะเรียกได้ว่าเป็นหน่วยงานการกุศลแรกที่เขาก่อตั้งขึ้นด้วยตัวเอง

ด้วยวัยที่ยังไม่ถึง 20 ปีดี แบรนสันต้องทำหน้าที่รับผิดชอบเหมือนผู้ใหญ่คนหนึ่ง จนแทบไม่มีเวลาพักผ่อนเป็นของตัวเองเลย แต่เขายังรู้สึกไม่พอใจกับการทำนิตยสารที่เขามองว่ายังไม่ประสบความสำเร็จมากพอและยังไม่มั่นคง ดังนั้น เขาจึงตัดสินใจลองเข้าสู่ธุรกิจจำหน่ายแผ่นเสียงที่เขาเล็งเห็นว่ามีศักยภาพในการเติบโต


เขาเสนอขายแผ่นเสียงในราคาที่ลดถูกกว่าร้านค้าทั่วไป 15 เปอร์เซ็นต์ โดยโฆษณาผ่านนิตยสาร Student เพื่อดึงดูดลูกค้าที่เป็นคนหนุ่มสาว ซึ่งแผ่นเสียงที่เขาประกาศขายเป็นผลงานของวงดนตรีและนักร้องที่หาซื้อได้ยาก หรือมีจำหน่ายเฉพาะที่ลอนดอน ปรากฏว่ามียอดสั่งซื้อเข้ามาอย่างถล่มทลาย ซึ่งทำให้เขานำเงินสดที่ได้จากการสั่งซื้อไปซื้อแผ่นเสียงกับบริษัทผู้ผลิตในปริมาณมากๆ ก่อนที่จะจัดส่งให้ลูกค้า และการขายแผ่นเสียงกลายเป็นกิจการที่ทำกำไรมากกว่ารายได้ที่มาจากการเป็นสมาชิกนิตยสารเสียอีก



ธุรกิจใหม่ของแบรนสันมีชื่อว่า ?เวอร์จิ้น? ที่แปลว่า ?บริสุทธิ์ ไร้เดียงสา? ซึ่งสอดคล้องกับอารมณ์ในยุคนั้นที่คนหนุ่มสาวมักจะต่อต้านสังคม และแบรนสันจึงเปิดสำนักงานของตัวเองอยู่บนร้านเก่าๆ ที่ขายรองเท้า โดยใช้ชื่อร้านของเขาว่า ?เวอร์จิ้น เรคคอร์ดส์? (Virgin Records) และจากจุดนั้น ?เวอร์จิ้น เรคคอร์ดส์? ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นมา



ธุรกิจจำหน่ายแผ่นเสียงกำลังไปได้ดี เขาเริ่มมองหาธุรกิจใหม่ ๆ อย่างการเปิดสตูดิโอบันทึกแผ่นเสียง สิ่งพิมพ์ด้านดนตรี ร้านค้าปลีก โรงงานผลิตแผ่นเสียง ตัวแทนศิลปิน ฯลฯ แต่แผนการที่เขาวาดไว้ต้องพังทลายลง เพราะในปี ค.ศ. 1971 พนักงานไปรษณีย์หยุดงานประท้วงทั่วประเทศ ซึ่งส่งผลทำให้กิจการของแบรนสันเกือบล้มละลาย


ในฤดูร้อนปี ค.ศ. 1971 แบรนสันตัดสินใจผิดพลาด หลังจากรับออเดอร์จากเบลเยี่ยมซึ่งเป็นครั้งแรก ที่ได้รับออเดอร์จากต่างประเทศ ซึ่งไม่ต้องเสียภาษี จากนั้นเขาแกล้งทำเป็นว่าจัดส่งอีกประมาณ 4-5 ครั้ง แต่กลับนำสินค้ามาขายในร้านของเขาที่ลอนดอน แต่ท้ายที่สุดแบรนสันก็ถูกจับในข้อหาเลี่ยงภาษี และเขาถูกคุมขังที่เรือนจำโดเวอร์เป็นเวลา 1 คืน ซึ่งทำให้แบรนสันรู้สึกตกใจและเสียหน้ามาก แบรนสันถูกปล่อยตัวออกมาในวันต่อมาเมื่อพ่อกับแม่มาประกันตัวด้วยวงเงิน 30,000 ปอนด์ จากเงินที่ได้จากการนำบ้านไปจำนอง แบรนสันออกจากเรือนจำมาด้วยน้ำตานองหน้า



แบรนสันเปิดธุรกิจห้องบันทึกเสียง และเริ่มผลิตแผ่นเสียงในสังกัดของตนเอง ศิลปินในสังกัดของแบรนสันที่มีชื่อเสียงในยุคแรกๆ ก็เช่น ไมค์ โอลด์ฟิลด์, แทงเจอรีน ดรีม, เซ็กซ์ พิสทอลส์ และยุคถัดมาเช่น เจเนซิส, ฟิล คอลลินส์, ปีเตอร์ แกเบรียล, บอย จอร์จ


เมื่อเงินทองไหลมาเทมาจากรายได้ที่นักร้องในสังกัดเป็นที่นิยม ทำให้เวอร์จิ้นลอยตัวจากปัญหาเรื่องเงินทุน แบรนสันจึงเริ่มแตกยอดธุรกิจออกไปอีก ทั้งธุรกิจค้าปลีก การจัดรายการบันเทิง ส่วนการจัดจำหน่ายแผ่นเสียงทางไปรษณีย์นั้นก็ยกเลิกไป และธุรกิจอื่นๆ ที่ตามมาอีกก็คือสตูดิโอบันทึกแผ่นเสียง ร้านจำหน่ายแผ่นเสียง สิ่งตีพิมพ์และหนังสือเกี่ยวกับดนตรี ไนต์คลับ และภาพยนตร์ และเวอร์จิ้นยังสยายปีกข้ามไปทวีปอเมริกา เมื่อไปเปิดสาขาของเวอร์จิ้นที่นั่น


ต้นปี ค.ศ. 1984 แรนดอล์ฟ ฟิลด์ส ทนายความชาวอเมริกัน ผู้พยายามก่อตั้งสายการบินข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกราคาพิเศษ แบรนสันตกลงใจที่จะร่วมกับฟิลด์สก่อตั้งสายการบินขึ้นมา โดยตั้งชื่อว่า ?สายการบินเวอร์จิ้นแอตแลนติก แอร์เวย์ส


ภายในเวลาเพียง 1 สัปดาห์ สายการบินเวอร์จิ้นแอตแลนติก แอร์เวย์สก็เป็นรูปเป็นร่าง และมีกำหนดเปิดตัวช่วงเดือนมิถุนายน ขาดแต่เพียงยังไม่ได้รับใบอนุญาตทำการบิน ยังไม่มีเครื่องบินเป็นของตัวเอง ไม่มีสำนักงาน และไม่มีพนักงานแม้แต่คนเดียว แต่ในที่สุดเขาก็จัดการจนสำเร็จ โดยได้รับใบอนุญาตทำการบิน เจรจากับโบอิ้งเพื่อขอซื้อเครื่องบินรุ่น 747 ซึ่งเคยเป็นของสายการบินอาร์เจนติน่า ภายใต้ข้อตกลงรับซื้อคืนที่มีเงื่อนไขซับซ้อนมาก โดยได้เครดิตจากธนาคารสหรัฐฯ รายหนึ่ง


แบรนสันรู้ดีว่าการที่สายการบินของเขาจำหน่ายตั๋วในราคาต่ำ จะต้องได้รับผลกระทบจากนโยบายหั่นราคาจากสายการบินบริติช แอร์เวย์ส และแพนแอม อย่างแน่นอน เพราะสายการบินเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากสายการบินของเขา และก็เป็นอย่างที่เขาคิด บริติช แอร์เวย์ส ทำสงครามหั่นราคากับสายการบินเวอร์จิ้นแอตแลนติก แอร์เวย์ส แบรนสันจึงวิ่งเต้นรวมถึงขู่ว่าจะฟ้องร้องเพื่อให้ดำเนินคดีตามกฎหมายห้ามการผูกขาดการค้าในสหรัฐฯ และบีบรัฐมนตรีคมนาคมอังกฤษให้ยกเลิกนโยบายตัดราคา


เวอร์จิ้น กรุ๊ป ของแบรนสัน เป็นบริษัทเอกชนมานาน แต่ในปี ค.ศ. 1986 แบรนสันยอมปล่อยขายหุ้นบริษัทแก่มหาชนมีการโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ทั่วอังกฤษเชินชวนให้ประชาชนมาซื้อหุ้นของเวอร์จิ้น กรุ๊ป และทำให้แบรนสันเห็นลู่ทางในการระดมทุนอย่างรวดเร็วเพื่อลดภาระหนี้สินที่กู้จากธนาคารเป็นช่วงสั้นๆ และนำเงินที่ได้จากการระดมทุนมาใช้ขยายกิจการโดยที่เขาไม่เสียอำนาจในบริษัท


แบรนสันไม่เคยหยุดนิ่ง เขาลงทุนทำธุรกิจใหม่ๆ อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเวอร์จิ้น คอมมิวนิเคชั่น เวอร์จิ้นโคล่า เครื่องสำอาง ไนต์คลับ เวอร์จิ้นไบรด์ และสินค้าเสื้อผ้า แบรนสันสร้างความฮือฮาไปทั่วในงานเปิดชุดแต่งงานคอลเล็คชั่นใหม่ของเวอร์จิ้น ด้วยการโกนหนวดทิ้ง และแต่งหญิง ซึ่งเป็นพฤติกรรมประหลาดมาก


แบรนสันแต่งงานสองครั้ง ภรรยาคนที่สองของเขาคือโจแอน เท็มเปิ้ลแมน เป็นชาวสก็อต มีนิสัยที่ติดดินมาก แบรนสันมีลูกกับภรรยาคนที่สอง 2 คน เป็นลูกสาวและลูกชาย


แบรนสันมีเกาะส่วนตัวชื่อเกาะเนคเตอร์ ที่มีพื้นที่ 74 เอเคอร์ ที่อยู่ในหมู่เกาะบริติชเวอร์จิ้น อีกทั้งยังชอบนั่งทำงานอยู่ที่บ้าน ถึงแม้ว่าจะมีสำนักงานอย่างเป็นทางการก็ตาม เขาชอบทำงานอยู่ที่เฮาส์โบ้ตซึ่งเป็นเรือที่ใช้เป็นทั้งบ้านและที่ทำงานไปพร้อมๆ กัน เขาใช้เฮาส์โบ้ตอยู่นานจนกระทั่งต้องย้ายไปหาบ้านใหม่ที่ใหญ่กว่าเดิม เพราะลูกๆ ของเขาเริ่มโตและซุกซนมากขึ้น และมักจะแย่งกันรับโทรศัพท์ แต่เขาก็ยังใช้เฮาส์โบ้ตเป็นอีกสำนักงานหนึ่งต่อไป



เขาทำงานการกุศลร่วมกับคนดังคนอื่นๆ มากมาย และยังอุปถัมภ์องค์กรการกุศลหลายแห่ง ยกตัวอย่างเช่น Prisoners Abroad และ International Rescue Corps เขาได้แต่งตั้งบรรดาศักดิ์เป็นอัศวินในปี ค.ศ. 1999 และยังได้รับรางวัลพลเมืองโลกจากยูเอ็นอีกด้วยในปี 2007 ที่เขาส่งเสริมกิจการ
ด้านสิ่งแวดล้อมและมนุษยธรรม




แบรนสันประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากในการเป็นผู้บริหารที่ทำให้พนักงานในองค์กรมีสำนึกในการเป็นคนในชุมชนเดียวกันมากที่สุด และทำให้พนักงานรักองค์กรมาก เขาพยายามให้พนักงานในองค์กรทำงานในเวอร์จิ้นด้วยความสนุกและความสุข เขาเชื่อว่าถ้าเปลี่ยนงานให้กลายเป็นการผจญภัยที่น่าตื่นเต้น จะทำให้ทัศนคติและผลของงานของพนักงานต่างออกไปจากเดิมมาก ทุกวันนี้แบรนสันยังคงทำหน้าที่เป็นประธานของเวอร์จิ้นกรุ๊ปที่ดูแลพนักงานถึง 35,000 คน







แหล่งอ้างอิง


บทความ ริชาร์ด แบรนสันผู้ฝันไม่เหมือนใคร กรกฎาคม 19, 2008

http://www.tutorgohome.com/forum/index.php?topic=225.0


บทความ Branson to be the first man to marry a couple in space

http://www.dailymail.co.uk/tvshowbiz/article-560792/I-pronounce-spaceman-wife-Branson-man-marry-couple-space.html
 

บทความ ริชาร์ด แบรนสัน : ปรามาจารย์สร้างแบรนด์ 16 พฤษภาคม 2011
http://www.telecomjournal.net/index.php?option=com_content&task=view&id=4549&Itemid=34
 

บทความ ออกมาเปิดบริษัทเองดีไหม?
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:S5TREqxNMZQJ:www.kai-ka.com/business-startup/ออกมาทาเอง/+virgin+Active+คือ&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th&source=www.google.co.th





 




.




10 ความคิดเห็น:

  1. ล้มแล้วต้องลุกได้...ริชาร์ด แบรนสัน



    ในเมื่อ Business Stipped Bare เขียนโดยริชาร์ด แบรนสัน มันจึงแตกต่างจากหนังสือธุรกิจเล่มอื่นๆ อย่างแน่นอน คุณจะไม่พบโครงสร้างเนื้อหาตามทฤษฎีธุรกิจ แต่จะเห็นภาพการสร้างอาณาจักรธุรกิจอันยิ่งใหญ่ขึ้นมาจากศูนย์ คุณจะไม่พบกราฟประกอบคำอธิบาย ไม่พบกรณีศึกษา แต่จะได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของนักคิดนอกกรอบผู้ตั้งธุรกิจตั้งแต่อายุ 16 คุณจะพบการเล่าอย่างเปิดเผย ตรงไปตรงมาถึงความเป็นมาของ Virgin ตั้งแต่ปรัชญาธุรกิจ การสร้างคน สร้างแบรนด์ และการอุทิศตัวเพื่อสังคม ไม่เว้นแม้แต่ข้อผิดพลาดที่หลายคนคงอยากปิดเงียบไว้ (แต่จะเป็นประโยชน์ต่อคนที่ได้อ่านอย่างแน่นอน)




    จงเรียนรู้จากข้อผิดพลาด


    เคล็ดลับความสำเร็จของเวอร์จินที่ใครๆ ก็รู้ดีแต่ยากจะเลียนแบบคือ "คน" ริชาร์ดเคยเขียนไว้ว่า เขาอยากให้เรียกแผนก "ทรัพยากรบุคคล" ว่า “แผนกคน" มากกว่า สำหรับริชาร์ด การศึกษาไม่ใช่คุณสมบัติสำคัญที่สุด แต่เป็น "สปิริต" เขาเชื่อว่าถ้าให้โอกาส ทุกคนจะคิดสิ่งดีๆ ได้ และสามารถพัฒนาตัวเองได้เต็มศักยภาพ เขายังเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้จากความผิดพลาดของตัวเอง และเขียนไว้ว่า "ที่เวอร์จิน เราต่างเรียนรู้ที่จะเตรียมตัวรับความจริง แม้รสชาติมันจะเลวร้ายแค่ไหนก็ตาม เพราะความผิดพลาดมักเกิดขึ้นเมื่อผู้บริหารพยายามหลีกเลี่ยงความจริง คุณต้องไว้ใจให้คนของคุณเรียนรู้จากความผิดพลาด การตำหนิและกล่าวโทษกันไม่มีประโยชน์เลย" และตัวเขาเองก็เล่าถึงความผิดพลาดของตัวเองอย่างตรงไปตรงมา เราจึงได้เรียนรู้จากความผิดพลาดของเขาในวันนี้





    บทเรียนราคาแพง-อย่าเลี่ยงกฎหมาย


    ริชาร์ด แบรนสันเล่าถึงความผิดพลาดครั้งนี้ว่า "ในปี 1969 ผมได้ทำความผิดพลาดครั้งร้ายแรงที่สุดในชีวิต...40 ปีต่อมาผมก็ยังหนีไม่พ้นคำครหา" นั่นคือเหตุการณ์เมื่อแบรนสันอายุ 19 ปี เขาขับรถขนแผ่นเสียงไปประเทศเบลเยียม และได้ค้นพบว่า ถ้าสั่งซื้อแผ่นเสียงเพื่อจุดประสงค์ในการส่งออกจะได้รับการยกเว้นภาษี หนุ่มน้อยแบรนสันไม่รอช้า เขามองเห็นช่องทางและโอกาสทันที

    "ผมซื้อแผ่นเสียงที่ต้องการ โดยทำเป็นการซื้อเพื่อส่งออก แต่ที่จริงเป็นการซื้อมาขายต่อให้ลูกค้าในประเทศอังกฤษนี่เอง กระบวนการประกอบด้วยการขับรถบรรทุกแผ่นเสียง 4 คันไปที่เมืองโดเวอร์ ขึ้นเรือข้ามฟากไปฝรั่งเศส แล้วขึ้นเรือข้ามฟากอีกลำกลับมาโดยยังมีแผ่นเสียงบรรทุกอยู่เต็มคันรถ เรื่องนี้ไม่เพียงแต่ผิดกฎหมาย แต่ยังเป็นเรื่องโง่สุดๆ ด้วย..."

    ในเดือนพฤษภาคม ปี 1969 ริชาร์ด แบรนสัน ถูกจับได้พร้อมของกลาง เขาถูกขังคุก และพ่อแม่ต้องเอาโฉนดบ้านไปประกันตัวเขาออกมา สรรพากรตกลงจะไม่ดำเนินคดีริชาร์ดแต่เขาต้องชดใช้เป็นเงิน 3 เท่าของมูลค่าภาษีที่หลีกเลี่ยง ซึ่งก็คือ 60,000 ปอนด์ (ประมาณ 3,120,000 บาทในปัจจุบัน)

    ริชาร์ดยอมรับว่าเหตุการณ์ครั้งนี้เกือบดับไฟฝันในการทำธุรกิจของเขาเสียแล้ว "โชคดีที่ไม่เป็นอย่างนั้น แต่มันเป็นบทเรียนราคาแพงที่สอนให้ผมรู้ว่า อย่าได้ทำผิดกฎหมายหรือผิดจริยธรรมเด็ดขาด" หลังจากหายช็อค ริชาร์ดและเพื่อนร่วมงานก็ช่วยกันคิดและตกลงว่าจะทำงานหามรุ่งหามค่ำขยายธุรกิจให้โตเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อชดใช้หนี้ก้อนนี้และช่วยให้เขาไม่ต้องขึ้นศาล

    "ต้องใช้เวลาถึง 3 ปี แต่ผมได้บทเรียนสำคัญ คือ อย่าทำสิ่งใดก็ตามที่จะทำให้คุณไม่อาจหลับตาลงได้ในยามกลางคืน"









    ...

    ตอบลบ
  2. ...ต่อ...



    สิ่งที่ไม่คาดฝัน

    ธุรกิจก็เหมือนชีวิต คือ มีปัจจัยภายนอกมากมายที่เราควบคุมไม่ได้ เช่น จู่ๆ ราคาน้ำมันก็แพงขึ้น 3 เท่า ผู้ก่อการร้ายจุดระเบิดฆ่าตัวตายกลางย่านชุมชน พายุเฮอริเคนทำลายเมืองทั้งเมืองราบเป็นหน้ากลอง ความผันผวนของค่าเงิน และสภาพเศรษฐกิจถดถอย สิ่งเดียวที่เราทำได้คือ เตรียมตัวให้พร้อมรับความเสี่ยงเหล่านั้น อย่างน้อยเมื่อเกิดหายนะขึ้นจริงๆ คุณก็ยังมีสติพอจะจัดการเรื่องต่างๆ ได้ สำหรับริชาร์ด แบรนสัน เขาได้เรียนรู้บางอย่างจากอุบัติเหตุครั้งร้ายแรงที่เกิดกับรถไฟของ Virgin Train

    เวลา 18.15 น. วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2007 ขบวนรถไฟ Pendolino ซึ่งวิ่งมาด้วยความเร็ว 100 ไมล์ต่อชั่วโมงได้ตกจากรางในคัมเบรีย ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษ หญิงชราชื่อ มาร์กาเร็ต แมสสัน ซึ่งโดยสารรถไฟขบวนนี้กลับบ้านถูกเหวี่ยงไปมาในห้องโดยสารขณะที่รถไฟไถลไปตามรางและคว่ำลงบนตลิ่งทางสูงชัน มาร์กาเร็ต หรือที่ญาติๆ เรียกว่าเพกกี้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุครั้งนี้

    จนถึงเวลานั้น เป็นเวลานับสิบปีแล้วที่ขบวนรถไฟของ Virgin Train รับส่งผู้โดยสารนับล้านคนไปทั่วอังกฤษอย่างปลอดภัย นี่จึงเป็นอุบัติเหตุครั้งแรก และยังร้ายแรงถึงขั้นมีคนตายและผู้บาดเจ็บอีกหลายคน

    อุบัติเหตุเกิดขึ้นในวันที่ริชาร์ด แบรนสันและครอบครัวไปพักผ่อนเล่นสกีกันในสวิตเซอร์แลนด์ หิมะที่ตกลงมามากทำให้ทุกคนเล่นสกีอย่างสนุก และคิดว่าวันนี้เป็นวันดี แต่เมื่อกลับถึงที่พักในตอนเย็น ริชาร์ดได้รับข้อความทางโทรศัพท์ที่แจ้งข่าวอุบัติเหตุร้ายแรง หิมะที่เพิ่งทำให้ทุกคนมีความสุขนี่เองที่ทำให้เขาไม่สามารถเดินทางด้วยเฮลิคอปเตอร์ หลังจากพยายามติดต่อและนัดหมายกับผู้บริหาร Virgin Train แล้ว ริชาร์ดเช่ารถและขับกว่า 5 ชั่วโมงมาซูริก เพื่อขึ้นเครื่องบินเที่ยวแรกไปแมนเชสเตอร์ ที่สนามบิน เขาพบผู้บริหาร Virgin Train 2 คนมารออยู่แล้ว ทั้งหมดตรงไปยังพื้นที่เกิดเหตุทันที

    ระหว่างทางผู้บริหารทั้งคู่สรุปเรื่องให้ริชาร์ดฟัง จากนั้นก็ฟังข่าวจากบีบีซี ซึ่งรายงานว่าเนื่องจากตัวรถไฟไม่เสียหาย จึงทำให้มีผู้รอดชีวิตมาก รถไฟขบวนนี้เป็นรถไฟรุ่นใหม่ที่ผลิตให้แข็งแรงกว่าเดิม แต่อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นมีสาเหตุจากรางรถไฟ จากข่าวนี้จึงทำให้ผู้บริหารเวอร์จินวางใจได้ว่า อย่างน้อยอุบัติเหตุก็ไม่ได้เกิดจากตัวรถไฟของเวอร์จิน

    เมื่อทั้งหมดมาถึงเมืองที่เกิดเหตุ พวกเขาตรงไปที่โรงพยาบาลที่รับผู้บาดเจ็บไปรักษา ตามรายงานข่าวนั้นมีผู้บาดเจ็บที่โรงพยาบาลนี้ถึง 100 คน แต่เนื่องจากตัวรถแบบ Pendolino นั้นมีมาตรฐานความปลอดภัยดี จึงมีผู้บาดเจ็บจริงแค่ 24 คน ทว่าตัวเลขเพียงเท่านี้ก็นับว่าสูงแล้ว หลังจากนั้น ทั้งสามคนจึงตรงไปเกรย์ริก ซึ่งเป็นจุดเกิดเหตุ เมื่อเห็นสภาพรถไฟที่ล้มนอนตะแคง แต่ทุกอย่างไม่บุบสลายแม้แต่กระจกหน้าต่าง แบรนสันนึกดีใจที่ดึงดันให้เพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยให้รถรุ่นใหม่

    อย่างไรก็ตาม ฮีโร่ตัวจริงของเรื่องนี้ไม่ใช่ริชาร์ด แบรนสันหรือรถไฟ Pendolino แต่คือคนขับรถไฟที่ชื่อ เอียน แบล็ค (ซึ่งเป็นข้อพิสูจน์อีกอย่างหนึ่งว่าอาวุธลับสำคัญของ Virgin ก็คือ "คน") เอียนเป็นอดีตตำรวจแต่มาทำงานขับรถไฟ เมื่อรถไฟไถลออกจากรางนั้น แทนที่จะหนีตาย เขากลับประจำที่คนขับอย่างกล้าหาญ พยายามควบคุมรถไฟและทำให้มันวิ่งช้าลงมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ความพยายามของเขารักษาชีวิตผู้โดยสารไว้ได้มากมาย แต่ตัวเขาเองได้รับบาดเจ็บสาหัส แบรนสันเขียนไว้ว่า สำหรับเขาแล้ว เอียนคือฮีโรตัวจริง

    หลังจากดูที่เกิดเหตุแล้ว ริชาร์ดกับพวกผู้บริหารกลับมาที่โรงพยาบาล พวกเขาได้พบญาติๆ ของมาร์กาเร็ตผู้เสียชีวิต แบรนสันเข้าไปแสดงความเสียใจอย่างจริงใจ แต่ไม่ทันไร ก็ถูกรุมล้อมด้วยเหล่านักข่าวที่หิวกระหายข้อมูล เขานึกว่าตัวเองคงแย่แน่แล้ว แต่เพราะว่ามีข้อมูลพร้อม เขาจึงสามารถให้สัมภาษณ์นักข่าวได้ เขาแสดงความเสียใจกับครอบครัวของมาร์กาเร็ตและผู้บาดเจ็บอื่นๆ เขากล่าวชมเชยเอียน คนขับรถที่ยังนอนรักษาตัวอยู่ และเอ่ยชื่อพนักงานทุกคนบนรถไฟขบวนนี้ ที่ช่วยเหลือผู้โดยสารอย่างมีประสิทธิภาพ การมุ่งเน้นไปที่ข้อมูลที่มีอยู่จริง ทำให้การสัมภาษณ์ผ่านไปด้วยดี

    จากอุบัติเหตุครั้งนี้ แบรนสันได้เรียนรู้ว่า แม้เรื่องไม่คาดฝันจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และหลายเรื่องเป็นสิ่งที่เราควบคุมไม่ได้ แต่สิ่งที่เราควบคุมได้คือ การทำทุกวิถีทางเพื่อป้องกันข้อผิดพลาด ดังที่ Virgin Train ยอมลงทุนสูงเพื่อให้รถไฟมีความแข็งแรง ปลอดภัย แต่หากเกิดเรื่องไม่ดีขึ้น แบรนสันก็เรียนรู้แล้วว่า

    1. ผู้บริหารต้องไปให้ถึงที่เกิดเหตุเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้

    2. ต้องรับมือกับผู้โดยสาร พนักงาน และนักข่าวอย่างมีประสิทธิภาพ

    3. ต้องให้ข้อมูลอย่างซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา

    หากทำได้ดังนี้ สถานการณ์ก็จะคลี่คลายไปในที่สุด





    ...

    ตอบลบ
  3. ...ต่อ...



    เมื่อสู้กับยักษ์ใหญ่

    ใต้ร่มเงาของแบรนด์ Virgin มีธุรกิจหลากหลายประเภท แต่ไม่มีครั้งไหนที่ท้าทายเท่ากับการต่อกรกับยักษ์ใหญ่ในธุรกิจน้ำอัดลม ริชาร์ด แบรนสันเขียนถึงการต่อสู้ในครั้งนั้นว่า "การเปิดศึกกับ Coca Cola เป็นเรื่องบ้า...นับเป็นหนึ่งในความผิดพลาดครั้งใหญ่ของเรา" อย่างไรก็ตาม ศึกครั้งนั้นทำให้คนอเมริกันรู้จักแบรนด์ Virgin

    ในปี 1994 เวอร์จินเปิดตัวเครื่องดื่ม Virgin Cola ซึ่งเกิดจากการร่วมลงทุนระหว่างเวอร์จินกับบริษัท Cott Corporation ผู้ผลิตน้ำอัดลมสัญชาติแคนาดา Cott มีน้ำอัดลมยี่ห้อของตัวเองและส่งขายให้กับห้างค้าปลีกหลายแห่งในสหรัฐฯ ได้แก่ K Mart, Safeway, 7-Eleven และ Wal-Mart เมื่อ Virgin Cola เปิดตัวในปี 1994 ก็ประสบความสำเร็จดีในผับและร้านอาหาร ผู้บริหารของ Cott แนะนำว่า Virgin Cola มีศักยภาพตีตลาดทั่วโลก เพราะ Cott มีลูกค้าในออสเตรเลีย อังกฤษ ฮ่องกง อิสราเอล และ ญี่ปุ่น แบรนสันเล่าว่า "แต่เขาไม่เห็นด้วยถ้าเราจะสู้กับ Coke ตรงๆ...เราควรจะฟังเขาในตอนนั้น"

    สิ่งที่แบรนสันไม่รู้คือ Coke ถึงกับตั้งทีม SWAT (หน่วยปฏิบัติการพิเศษ) ขึ้นมาเพื่อสกัดกั้น Virgin Cola โดยเฉพาะ เขาน่าจะเฉลียวใจตั้งแต่ที่จู่ๆ ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของ Tesco โทรฯ มายกเลิกทั้งๆ ที่ได้ตกลงกันไว้แล้วว่าจะให้ Virgin Cola มาวางขายในห้าง Tesco เมื่อแบรนสันโทรฯ กลับไปถามว่าทำไมถึงเปลี่ยนใจ ฝ่ายจัดซื้อให้เหตุผลมาหลายข้อ หนึ่งในนั้นคือ Coke เป็นลูกค้ารายใหญ่ของ Tesco มานาน ถ้าเขารับ Virgin Cola มาวางขายก็กลัวว่า Coke จะถอนสินค้าไปจาก Tesco หมด

    แบรนสันอธิบายว่า ชื่อเสียงของเวอร์จินนั้นดีมากในหมู่ผู้บริโภค และที่ผ่านมา เวอร์จินไม่เคยโจมตีหรือประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับใครตรงๆ "เราเพียงเสนอตัวว่าเป็นทางเลือกที่ดีกว่าเท่านั้น" หลังจากกลับไปคิดไม่นาน ฝ่ายจัดซื้อของ Tesco ก็ตัดสินใจรับ Virgin Cola ไปวางขาย ในเวลาไม่กี่เดือนยอดขายน้ำอัดลมใน Tesco สูงขึ้นถึง 36% ในจำนวนนี้ 75% คือยอดขาย Virgin Cola

    ทีมพิฆาตของ Coke เริ่มเล่นหนักขึ้น โดยไม่ให้บริษัทผู้รับผลิตและบรรจุขวดน้ำอัดลมทั่วโลกรับงานจาก Virgin Cola ในปี 1998 Virgin Cola เพิ่มเงินลงทุนอีก 25 ล้านดอลลาร์ เพื่อทำศึกกับ Coke แบรนสันให้เปิดตัว Virgin Cola ในจตุรัสไทม์สแควร์ ของนิวยอร์ก โดยให้รถของ Virgin Cola ทำเหมือนพ่นไฟใส่ป้ายของ Coca Cola ทำเอานักท่องเที่ยวตกใจวิ่งวุ่นทั่วจตุรัส และทีมงานเวอร์จินเกือบต้องเข้าไปนอนเล่นในคุกเลยทีเดียว

    Virgin Cola ขายดีในอังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยียม และสวิตเซอร์แลนด์ แถมยังมีหวังจะได้ขายแฟรนไชส์ไปญี่ปุ่นและอิตาลี แต่ Coke เริ่มเล่นบทโหด Coke เล่นสงครามราคา ซึ่งเวอร์จินย่อมสู้ไม่ได้ เพราะทุนไม่หนาพอ Coke ยังขู่บรรดาร้านค้าย่อยว่าจะเก็บตู้โค้กและถอนสินค้าทั้งหมดจากร้านถ้าทางร้านยังรับ Virgin Cola มาขาย ในไม่ช้ายอดขายของ Virgin Cola ก็ตกลงเรื่อยๆ และหายไปจากตลาดในที่สุด

    แบรนสันสรุปบทเรียนครั้งนี้ว่า "เราแพ้เพราะมองข้ามสถานภาพที่แข็งแกร่ง" สำหรับผู้ผลิตเครื่องดื่มโคล่า เวอร์จินไม่ใช่หนึ่งในใจผู้บริโภค แม้แบรนด์เวอร์จินจะเป็นที่นิยม แต่ Coke อยู่มานานและเหนือกว่า ที่สามารถวางสินค้าให้คนซื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา Coke สามารถแข่งสงครามราคาได้ไม่อั้นเพราะมีความได้เปรียบเชิงปริมาณสินค้าที่ขายอยู่ทั่วโลก ข้อสำคัญคือ แบรนด์ Coke ได้อยู่ในใจผู้บริโภคแล้ว เมื่อซื้อเครื่องดื่มโคล่า คนส่วนใหญ่จะสั่ง Coke แบรนสันยอมรับว่า "Coca Cola เล่นบทโหดกับเรา แต่เราก็แพ้ตั้งแต่อยู่ในมุ้งแล้ว"

    อย่างไรก็ตาม ผลพวงจากสงครามครั้งนี้ กลับเป็นการถือกำเนิดของบริษัทเครื่องดื่ม Innocent Drinks บริษัทนี้ก่อตั้งโดยอดีตพนักงานของ Virgin Cola พวกเขาเห็นช่องว่างในตลาดเครื่องดื่มสมูธตี้ที่ทำจากผลไม้สด ปัจจุบัน Innocent Drinks มีมูลค่านับร้อยล้านดอลลาร์เลยทีเดียว






    ...

    ตอบลบ
  4. ...ต่อ...




    Virgin Bank ฝันที่ไม่เป็นจริง

    เดือนสิงหาคม ปี 2007 วิกฤติการณ์ด้านสินเชื่อเริ่มแผลงฤทธิ์ในอังกฤษ ธนาคารใหญ่อย่าง Nothern Rock จะล้มละลาย จึงตกเป็นภาระของรัฐบาลอังกฤษต้องเข้ามาอุ้ม เจน แอน การ์เดีย ผู้บริหารฝ่ายการเงินของเวอร์จินมองเห็นช่องทางที่จะก้าวเข้าสู่ธุรกิจธนาคาร เธอเสนอว่าเวอร์จินควรเสนอตัวเข้าซื้อกิจการของ Nothern Rock โดยหาพันธมิตรเข้ามาร่วมทุนด้วย ข้อดีคือเวอร์จินก็จะได้ขยายสู่ธุรกิจการเงิน และรัฐบาลอังกฤษก็ไม่ต้องใช้เงินภาษีของประชาชนมาอุ้มธนาคารด้วย



    ริชาร์ด แบรนสันเห็นด้วยทันที ทั้งเขาและเวอร์จินไม่เคยละทิ้งโอกาสแสวงหาธุรกิจใหม่ๆ เขาโทรศัพท์ไปหาประธานบริหาร Nothern Rock ซึ่งมีท่าทีตอบรับอย่างยินดีที่ เวอร์จินจะเข้ามาซื้อหุ้น ทีมงานฝ่ายการเงินของ Virgin เริ่มทำแผนงานและข้อเสนอต่างๆ ส่วนตัวเขาเองมีหน้าที่ระดมทุน ซึ่งมีผู้สนใจร่วมลงทุนหลายราย รวมแล้วเป็นเงินมูลค่าถึง 11,000 ล้านปอนด์ โดยส่วนตัวแล้ว แบรนสันเห็นว่า Nothern Rock ยังมีทางรอด เพราะระบบภายในยังดีอยู่ พนักงานก็ขยันขันแข็ง สิ่งที่ทำให้ธนาคารนี้อ่อนแอคือวิกฤติสินเชื่อและการขาดสภาพคล่อง ดังนั้นหากมีเงินทุนเข้ามา ธนาคารย่อมดำเนินการต่อไปได้ อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่านอกจากเวอร์จินแล้ว ยังมีกลุ่มทุนรายอื่นๆ หวังเข้ามาซื้อ Nothern Rock เช่นกัน



    แบรนสันพยายามสร้างความน่าเชื่อถือโดยเชิญเซอร์ไบรอัน พิตแมน ซึ่งเป็นนักการเงินและอดีตนายธนาคารชื่อดังมาเป็นว่าที่นายธนาคารใหม่ ที่จะได้ชื่อว่า Virgin Bank ทีแรกเวอร์จินมีโอกาสมากที่จะได้เป็นผู้ซื้อ Nothern Rock แต่เฮดจ์ฟันด์ที่ถือหุ้นธนาคารนี้อยู่ต่อต้านการเข้ามาซื้อกิจการของเวอร์จิน ขณะเดียวกันจำนวนเงินที่ต้องใช้ดูเหมือนจะสูงเกินกว่าเวอร์จินจะเสี่ยงได้ แต่ขณะที่แบรนสันกำลังคิดจะถอนข้อเสนอ รัฐบาลอังกฤษก็ยื่นมือเข้ามา โดยเสนอเงินกู้ให้กับผู้ที่จะซื้อกิจการของ Nothern Rock เวอร์จินจึงยื่นเรื่องขอกู้และยังแข่งขันราคาต่อไป

    แต่หลังจากนั้นไม่นานสื่อก็ตีข่าวที่แบรนสันขึ้นเครื่องบินลำเดียวกันกับกอร์ดอน บราวน์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษที่กำลังจะไปเยือนจีน เนื้อหาข่าวออกมาในทำนองว่านายกรัฐมนตรีเอนเอียงและรู้เห็นเป็นใจให้แบรนสันซื้อ Nothern Rock นายกรัฐมนตรีต้องถูกซักฟอกในสภา มีการหยิบยกเรื่องที่แบรนสันเคยเลี่ยงภาษี (เมื่อเขาอายุ 19 ปี) ขึ้นมาโจมตีว่าไม่เหมาะจะเป็นนายธนาคาร

    ขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ก็กระพือข่าวว่าเวอร์จินหวังรวยทางลัดจากการเข้าซื้อกิจการของ Nothern Rock ในราคาต่ำกว่ามูลค่าจริงถึง 40 เท่า ในที่สุดเมื่อทนแรงกดดันไม่ไหว รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเข้ามาอุ้ม Nothern Rock ไว้เสียเอง แบรนสันและทีมงานรู้สึกผิดหวังมาก เพราะเขารู้ดีว่า ถ้าปล่อยให้เขาซื้อธนาคารนี้ไป รัฐบาลจะไม่ต้องควักเงินภาษีของแผ่นดินเลย และทีมการเงินของเขายังมีศักยภาพมากกว่ารัฐบาล ในการที่จะฟื้นฟูกิจการของ Nothern Rock ด้วย



    ล้มแล้วก็ลุกได้

    การพลาดหวังเรื่อง Nothern Rock ทำให้ริชาร์ด ซึมไปหลายวัน แต่มีอีกคนหนึ่งที่เขาเป็นห่วงคือเจนแอน ซึ่งทุ่มอย่างสุดตัวเพื่องานนี้มาตลอด หลังจากการประกาศอุ้ม Nothern Rock ของรัฐบาลอังกฤษ เจนแอนโทรฯ มาหาแบรนสันในวันอังคาร เขาทักเธอไปว่า "หวังว่าคุณคงไม่ได้ยืนอยู่บนยอดตึกที่ไหนสักแห่งและกำลังจะโดดนะ" เธอตอบกลับมาว่า "ไม่ต้องห่วงริชาร์ด สุดสัปดาห์นี้ฉันศึกษาข้อมูลของ Bradford&Bingley และ..." แล้วสมองของแบรนด์สันก็วิ่งจี๋อีกครั้ง "ให้ตายสิ ทำไมล่ะ" คำตอบของเจนแอนคือ "เพราะทั้งสองบริษัทดูเหมือนจะอยากถูกเทคโอเวอร์เต็มทีน่ะสิ ฟังนะ..." นี่เองคือสปิริตของ Virgin คือการก้าวไปข้างหน้าเสมอ

    สำหรับริชาร์ด แบรนสัน การผิดพลาดไม่ใช่เรื่องใหญ่ อย่างน้อยคุณก็รู้ว่าได้ทำดีที่สุดแล้ว จงเชิดหน้าแล้วก้าวต่อไป ดังคำของริชาร์ดที่ว่า "ถ้าเจ็บ ก็จงเลียแผล แล้วลุกขึ้นมาใหม่ หากได้ทำอย่างดีที่สุดแล้ว ก็ถึงเวลาก้าวไปข้างหน้าเสียที"




    ที่มา : หนังสือ Business Stripped Bare ศรุตยา








    .

    ตอบลบ
  5. ขย้ำมันซะ ! สไตล์ริชาร์ด แบรนสัน



    ทั่วโลกรู้จัก ริชาร์ด แบรนสัน ในฐานะนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ ชอบคิดนอกกรอบ และไม่ยอมแพ้ต่อกฏเกณฑ์ใดๆ จากเด็กที่มีปัญหาการเรียนจากโรคดีสเล็กเซีย (โรคผิดปกติในการอ่าน) เขาเริ่มทำนิตยสารตั้งแต่อายุ 15 ปี เป็นเจ้าของค่ายเพลงชื่อดังเมื่อยังหนุ่ม และสร้างสายการบินที่ประสบความสำเร็จเหนือความคาดหมายของใครๆ แม่จะพูดเสมอว่าไม่มีกฏที่ตายตัว แต่ริชาร์ด แบรนสันมีสิ่งที่ยึดถือเสมอในการดำเนินชีวิต ซึ่งอาจเป็นเคล็ดลับที่ทำให้คุณประสพความสำเร็จเช่นเดียวกัน

    จงลงมือทำ
    ปรัชญาส่วนตัวของ ริชาร์ด แบรนสันคือ "Screw it,let 's do it" เขาเชื่อว่าหากต้องการสิ่งใด คุณต้องลงมือทำ เขาไม่ยอมให้คำว่าไม่มาเป็นอุปสรรค และไม่ยอมให้กฎเกณฑ์ใดๆมาขัดขวางจากเป้าหมาย เขากระตุ้นให้ลูกน้องทุกคนลงมือทำในสิ่งที่ต้องการ เมื่อลูกน้องกล้าคิด กล้าทำ ก็จะเกิดแนวคิดใหม่ๆที่ดีต่อธุรกิจ สำหรับ ริชาร์ด แบรนสัน ทุกสิ่งย่อมมีทางเป็นไปได้

    จงสนุกกับสิ่งที่ทำ
    เขาเชื่อเสมอว่าชีวิตคนเรานั้นสั้นนัก จึงไม่ควรปล่อยไปสูญเปล่า จงสนุกให้เต็มที่ จงรักและเอาใจใส่ครอบครัว คุณจะเห็นว่าไม่มีเรื่องเงินทองรวมอยู่เลย หากเราสนุกกับงานที่ทำ จะทำให้ผลของงานออกมาดี

    กล้าเสี่ยงแต่อย่าพนัน
    คนทั่วไปมักมองว่าริชาร์ด แบรนสันเป็นนักธุรกิจที่บ้าบิ่น กล้าตัดสินใจโดยไม่คำนึงถึงผลได้ผลเสีย ที่จริงแล้วมีข้อแตกต่างระหว่างนักพนันกับคนที่กล้าเสี่ยงเพื่อโอกาสที่ดีกว่า ซึ่งริชาร์ด แบรนสันจัดอยู่ในกลุ่มหลัง ซึ่งเขาจะศึกษาข้อมูลและมีกระบวนความคิดที่เชื่อถือได้ เมื่อพิจารณาทั้งหมด จึงตัดสินใจได้ว่าควรจะเสี่ยงกับธุรกิจใหม่หรือไม่ อย่างไร ทุกครั้งที่ตัดสินใจควรถามตัวเองว่าคุณมีข้อมูลครบทุกด้านแล้วหรือยัง และพร้อมที่จะสูญเสียได้แค่ไหน

    แสวงหาความท้าทาย
    ทุกคนต่างมีจุดหมายของชีวิต บางคนเรียกว่าเป้าหมาย บางคนเรียกความท้าทาย จุดมุ่งหมายนี่เองที่ทำให้เราก้าวไปข้างหน้าและเกิดการพัฒนา เขาชอบตั้งเป้าหมายให้สูงเข้าไว้ พยายามไม่หยุด ลองสิ่งใหม่อยู่เรื่อย และท้าทายตัวเองตลอดเวลา

    พึ่งพาตัวเอง
    บทเรียนแรกๆที่ริชาร์ด แบรนสันเรียนรู้แต่วัยเด็กคือ การพึ่งพาตัวเอง ทุกวันนี้เขาก็สอนให้ลูกของเขาได้พึ่งพาตัวเองและเชื่อมั่นในกำลังกายและกำลังสมองของตัวเองแบบเดียวกัน

    อยู่กับปัจจุบัน
    จงใช้เวลากับทุกๆนาทีชีวิตให้คุ้มค่าเละชื่นชมกับปัจจุบันให้เต็มที่ การใช้ชีวิตที่คำนึงถึงอนาคตจะฉุดรั้งคุณไว้จากความก้าวหน้าได้มากๆพอกับการมัวครุ่นคิดแต่ในอดีต การจะทำให่วันข้างหน้าดีขึ้นมาได้ก็ต้องเริ่มจากทำวันนี้ให้ดีที่สุดเสียก่อน

    เพื่อนและครอบครัว
    ริชาร์ด แบรนสันเชื่อในพลังครอบครัว แม้ว่าบางครั้งครอบครัวอาจแตกแยก แต่ก็ยังเป็นกองหนุนที่ใครก็ขาดไม่ได้ บางคนอาจไม่มีครอบครัวแต่ถ้ามีกลุ่มเพื่อนที่รักและทุ่มเทให้กัน ก็นับว่าเป็นครอบครัวได้

    สุภาพและอย่าโกง
    ริชาร์ด แบรนสัน เรียนรู้บทเรียนความสุภาพจากนักธุรกิจชาวญี่ปุ่นที่เขาติดต่อธุรกิจด้วย เนื่องจากการทำธุรกิจชื่อเสียงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นนอกจากความสุภาพและปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความนับถือแล้ว ต้องไม่โกงเป็นอันขาด เขาถือหลักว่า แม้ต้องการชนะและประสบความสำเร็จเพียงใด เขาจะไม่ทำผิดกฏหมายและเอาเปรียบผู้อื่น

    จงทำความดี
    การช่วยเหลือผู้อื่นช่วยดึงจิตใจเราจากการหมกมุ่นอยู่กับเรื่องของตัวเอง การช่วยเหลือผุ้อื่นช่วยดึงจิตใจเราจากการหมกมุ่นอยู่กับเรื่องของตัวเอง และเติมเต็มชีวิตให้รู้สึกอิ่มเอมจิตใจ หากคนทุกคนช่วยกันคนละนิด ก็จะสร้างความแตกต่างขึ้นมาได้ และทำให้โลกนี้ดีขึ้นกว่าที่เป็น






    .

    ตอบลบ
  6. ริชาร์ด แบรนสัน ผู้ฝันไม่เหมือนใคร



    ผมคิดว่าคนที่เรียนไม่จบมหาวิทยาลัยหรือคนที่เรียนหนังสือไม่เก่งนั้น ย่อมไม่ได้หมายความว่าเขาเหล่านั้นจะไม่สามารถประสบความสำเร็จในชีวิตได้ ผมเชื่อว่าโลกมีความยุติธรรมสำหรับคนที่ทุ่มเทและมุ่งมั่นในสิ่งที่สร้าง สรรค์โดยไม่งมงาย หากคนใดมีคุณสมบัติดังกล่าวนี้ย่อมจะประสบความสำเร็จได้ แต่เหนือสิ่งอื่นใดเขาเหล่านั้นจะต้องเลือกเดินให้ถูกทาง เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและแนวโน้มของธุรกิจโลก ซึ่งมีเพียงทฤษฎีเดียวที่จะสามารถทำให้คนรวยคือไม่ว่าจะทำธุรกิจใดก็ตาม ธุรกิจนั้นจะต้องมีตลาดรองรับและต้องมีตลาดขนาดใหญ่พอ ตลาดนั้นก็ควรที่จะต้องมีมูลค่ามหาศาล โดยธุรกิจนั้นจะต้องมีคู่แข่งจำนวนไม่มาก และด้วยเงื่อนไขเพียงไม่กี่ข้อนี้ที่จะสามารถทำให้คนเดินดินธรรมดาคนหนึ่ง กลายมาเป็นมหาเศรษฐีระดับโลกได้

    ในทางกลับกันหลายคนอาจจะเป็นนัก ธุรกิจที่เก่งกาจ มีการบริหารงานและการจัดการที่เป็นเลิศ แต่หากเลือกดำเนินธุรกิจที่ไม่มีตลาดมารองรับ หรือแม้ตลาดที่มีจะมีขนาดใหญ่มาก แต่หากมีคู่แข่งจำนวนมากและแข่งขันกันอย่างดุเดือด ก็ยากที่จะประสบความสำเร็จได้ จะว่าไปแล้วการที่ บิลล์ เกตต์ สามารถร่ำรวยขึ้นมาจนเป็นอันดับหนึ่งของโลกได้นั้น ไม่ใช่เพราะเขาเป็นอัจฉริยะที่อายุน้อยที่สุดของโลก แต่เป็นเพราะเขาทำในสิ่งที่ตลาดต้องการมาก และด้วยความที่เขาเริ่มต้นก่อนคนอื่น ทำให้เขาได้เปรียบคู่แข่งขันรายอื่น ๆ ที่เพิ่งเข้ามาในตลาด

    ริชาร์ด แบรนสันเป็นนักธุรกิจคนหนึ่งที่ประสบความสำเร็จอย่างมากในปัจจุบัน หากมองย้อนไปในสมัยที่เขายังเด็กนั้น ผลการเรียนของเขาอยู่ในอันดับท้ายสุดของชั้นเรียนเสียด้วยซ้ำ เนื่องจากผลพวงมาจากอาการเจ็บป่วยของเขา และในสายตาของหลาย ๆ คน ต่างก็ดูถูกเขาว่าเป็นคนไม่มีความสามารถ ทั้งที่ตัวเขาเองทำทุกอย่างด้วยตนเองมาตั้งแต่เกิด เพราะแม่ของเขาเป็นคนหล่อหลอมให้เขามีความอดทน มุ่งมั่น และทะเยอทะยาน โดยไม่ยอมแพ้ต่อความยากลำบากแม้สักครั้งในชีวิต ทำให้เขาเป็นคนมีเป้าหมายในชีวิตอย่างแน่นอน จนสามารถประสบความสำเร็จโดยอาศัยความบ้าบิ่นและรักสนุก ทำให้เขาประสบความสำเร็จอย่างที่ไม่เคยมีใครทำได้แบบเขามาก่อน

    โลกใบ นี้เป็นโลกที่ท้าทายสำหรับเขา และเป็นโลกที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ทุกวินาทีที่ผ่านไปของเขาล้วนแล้วแต่เป็นโอกาสสำหรับธุรกิจใหม่ ๆ และเขาเองก็รู้จักใช้โอกาสต่างๆ ที่เข้ามาในชีวิตอย่างชาญฉลาด และข้อสำคัญที่สุดือเขาทำงานอย่างต่อเนื่อง จนทำให้เขาประสบความสำเร็จสูงสุดด้วยวัยเพียง 58 ปีเท่านั้น ผมเคยใช้กลยุทธ์เช่นเดียวกันกับ ริชาร์ด แบรนสัน โดยตั้งเป้าหมายความฝันไว้ก่อน และมองโลกอย่างท้าทาย พร้อมทั้งหาแนวทางธุรกิจใหม่ ๆ ที่ยังไม่มีคู่แข่งขัน ซึ่งผมมองว่าเป็นขั้นตอนแรกของถนนแห่งความสำเร็จที่ใคร ๆ ก็สามารถทำได้และประสบความสำเร็จได้อย่างไม่ยากเย็น

    ริชาร์ด แบรนสัน มีความเป็นตัวของตัวเองสูงมาก เขารู้จักใช้การสร้างตัวเองขึ้นมาจนตัวเขาเองกลายเป็นแบรนด์ที่มีคนรู้จัก และสนใจโดยไม่ต้องจ้างดาราดัง ๆ มาเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับสินค้าของเขาเลย เสมือนว่าทุกวันนี้เขากลายเป็นคนที่โด่งดังไปแล้วทั่วโลก ซึ่งหากจะเปรียบเทียบแล้วคงเหมือนกับ โกโก้ ชาแนล ที่นำเอาตัวเองมาเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับสินค้าของตนเอง







    ...

    ตอบลบ
  7. ...ต่อ...




    ถ้าริชาร์ด แบรนสันคือมหาเศรษฐีชาวอังกฤษผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการของกลุ่มกิจการนี้ เขาผู้นั้นก็คือ ผู้มีคติในการดำเนินชีวิตและบริหารธุรกิจที่ไม่เหมือนใคร และเริ่มกระโดดเข้าสู่วงการธุรกิจตั้งแต่มีอายุได้เพียง 16 ปีเท่านั้น จากหนุ่มน้อยที่เริ่มต้นทำธุรกิจนิตยสารรายเดือนสำหรับนักศึกษามหาลัย ปัจจุบันริชาร์ด แบรนสัน คือมหาเศรษฐีคนหนึ่งของโลก ที่มีบริษัทในเครือมากถึง 360 บริษัทภายใต้ชื่อการค้าว่า ?เวอร์จิ้น? มีทั้งธุรกิจสายการบิน ค่ายเพลง สื่อสิ่งพิมพ์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ และยังมีการขยายธุรกิจมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามปรัชญาชีวิตประจำตัวว่า ?ต้องท้าทายตัวเอง? ทำให้ริชาร์ด
    แบรนสัน มีนิสัยรักความท้าทาย ชอบความเสี่ยงเรื่องโลดโผน และชื่นชอบการผจญภัยเป็นชีวิตจิตใจ เขาขยันทำกิจกรรมแปลกใหม่ที่บ้าบิ่นเพื่อสร้างสถิติโลก อย่างเช่นการเดินทางรอบโลกด้วยบอลลูน การข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเรือเร็ว การไต่อาคารสูง ด้วยความที่ริชาร์ด แบรนสันเป็นนักธุรกิจที่มีความคิดในเชิงสร้างสรรค์ยังผลให้เขาลงทุนทำธุรกิจ ที่ไม่ธรรมดา ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนทำธุรกิจเทคโนโลยีและพลังงานชีวภาพ หรือแม้กระทั่งแผนการลงทุนด้านยานอวกาศเพื่อให้บริการขนส่งผู้โดยสารในเชิง พาณิชย์ ซึ่งกำลังเป็นที่สนใจขงมหาเศรษฐีทั่วโลก ที่ต้องการเดินทางขึ้นไปท่องเที่ยวในอวกาศ สำหรับผมก็เคยเดินทางด้วยเครื่องบิน มิก-25 ขึ้นไปยังเส้นขอบโลกมาแล้วเช่นกัน จากกิจกรรมความท้าทาย ความบ้าบิ่นที่เขาชื่นชอบ ส่งผลทำให้เขากลายเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงระดับโลก และเป็นบุคคลที่สื่อทุกประเภทให้ความสนใจอยู่เสมอๆ เท่ากับเป็นการประชาสัมพันธ์องค์กรของเขาไปด้วยจึงทำให้แบรนด์?เวอร์จิ้น? กลายเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปอยู่เสมอ





    โดยวิกรม กรมดิษฐ์







    .

    ตอบลบ
  8. ริชาร์ด แบรนสัน : ปรามาจารย์สร้างแบรนด์






    ริชาร์ด แบรนสัน เป็นใคร สำคัญอย่างไรจึงต้องพูดถึง คนทั่วไปอาจจะจำชื่อไม่ค่อยได้ว่าริชาร์ด แบรนสัน เป็นใคร แต่ถ้าบอกว่าเขาคือนักธุรกิจที่หน้าตาเหมือนสิงโต ชีวิตมีแต่การผจญภัย โลดโผน ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางรอบโลกด้วยบอลลูน ทำสถิติข้ามมหาสมุทรแอ็ตแลนติด ทำโครงการทัวร์อวกาศ ล่าสุดดำริโครงการท่องก้นบึ้งมหาสมุทร ก็คงจะเห็นภาพของริชาร์ด แบรนสันได้ชัดขึ้น แต่อาจจะไม่ชัดลึกพอ เพราะถ้าไปศึกษาประวัติของริชาร์ด แบรนสันแล้วจะพบว่าเขาคือตัวจริงของคนที่สมควรได้ชื่อว่าทำเรื่องตั้งแต่ไม้จิ้มฟันยันเรือรบขนานแท้

    สาเหตุที่ผมต้องเขียนถึงริชาร์ด แบรนสันก็เพราะเขาทำให้ผมผิดหวังถึง 2 ครั้ง 2 คราแล้วและไม่แน่ว่าจะผิดหวังเป็นครั้งที่ 3 อีกหรือไม่ เพราะตั้งท่าว่าจะไปทีไร ก็มีอันต้องเลื่อนวันไปเสียทุกที ครั้งหลังสุดนี้ตั้งท่าว่าจะไปวันที่ 28 เมษายน -3 พฤษภาคม ทำวีซ่าอังกฤษเรียบร้อยแล้ว ยังต้องมีอันเลื่อนไปเป็นวันที่ 4 กรกฏาคม วันชาติสหรับอเมริกาโน่น เรื่องของเรื่องก็คือ Air Asia เขาจะเชิญสื่อมวลชนไปเป็นสักขีพยานในผลของเกมพนันขันต่อของเจ้าพ่อวงการบินอย่างโทนี่ เฟอร์นันเดซ เจ้าของ Air Asia และ Virgin Airlines ของริชาร์ด แบรนสัน เรียกว่าให้ไปดูอภิมหาเศรษฐีเขาเล่นกันก็ว่าได้

    ย้อนกลับไปเมื่อเดือนมีนาคมปีที่แล้ว ทั้ง 2 อภิมหาเศรษฐีมีเดิมพันกันในฐานะเป็นเจ้าของทีมฟอร์มูล่า วัน โดยโทนี่ เฟอร์นันเดซเป็นเจ้าของทีม AirAsia & Team Lotus ส่วนริชาร์ด แบรนสันมีทีม Virgin Group & Vergin Racing แข่งกัน 9 เดือน รวม19 ครั้ง ปรากฏว่าทีมของโทนี่ เฟอร์นันเดซทำคะแนนได้ดีกว่าทีมของแบรนสัน ราคาพนันก็คือผู้แพ้จะต้องยอมแต่งตัวเป็นพนักงานต้อนรับให้กับสายการบินของผู้ชนะ พูดง่ายๆก็คือริชาร์ด แบรนสันต้องแต่งตัวเป็นแอร์โฮสเตส ให้บริการบนเที่ยวบินของ Air Asia เป็นเวลา 1 วัน โดยบินจากอังกฤษมายังกรุงกัวลาลัมเปอร์ของมาเลเซีย ด้วยเที่ยวบินพิเศษ รายได้มอบให้กับองค์กรการกุศล

    เจาะลึกไปกว่านั้นก็คือความจริงริชาร์ด แบรนสันก็มีหุ้นอยู่ใน Air Asia X อยู่ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ ขณะเดียวกันก็ยังเป็นเจ้าของสายการบินต้นทุนต่ำอย่าง Virgin Blue ในออสเตรเลียด้วย และเมื่อพูดถึงสถานะของสายการบินต้นทุนต่ำหรือ Low Cost Airline แล้ว อันดับ 1 ของโลกขณะนี้ก็คือ Air Asia ส่วนอันดับ 2 เป็นของ Air Berlin และอันดับ 3 ก็คือ Virgin Blue ของแบรนสันนั่นเอง






    ...

    ตอบลบ
  9. ...ต่อ...



    สายการบิน Virgin เป็นเพียงส่วนหนึ่งในธุรกิจของแบรนสันเท่านั้น เพราะแบรนด์สันวัย 60 ปีคนนี้เพิ่งให้สัมภาษณ์เมื่อไม่นานมานี้ว่าเขามีธุรกิจอยู่ประมาณ 350 บริษัท ที่สำคัญๆก็เช่น Virgin Atlantic ซึ่งเป็นสายการบินนานาชาติให้บริการทั่วโลก มี Virgin Megastores เป็นธุรกิจเพลงและดนตรีอยู่ในอังกฤษ สหรัฐ และออสเตรเลีย มี Virgin Book พิมพ์และจำหน่ายหนังสือ Virgin Credid Card ให้บริการเครดิตการ์ดในราคาที่สมเหตุสมผล VirginHoliday ให้บริการท่องเที่ยว Virgin Train ให้บริการรถไฟในอังกฤษ V2 Music บริษัทเพลงที่ใหญ่ที่สุดของอังกฤษ Virgin Active ให้บริการฟิตเนส และที่ฮือฮากันมากก็คือ Virgin Galactic หรือบริการทัวร์อวกาศซึ่งมีความคืบหน้าไปมากแล้วทั้งการทดสอบการบินและจำนวนผู้โดยสารที่จองคิวกันยาวอย่างเหลือเชื่อ

    แบรนสันยืนยันว่าขณะนี้มีลูกค้าจองไว้แล้วกว่า 35,000 คน ค่าตั๋วอยู่ที่ 2 แสนดอลลาร์หรือประมาณ 6 ล้านบาท ตอนนี้มีคนยอมชำระเต็มราคาล่วงหน้าไปแล้วกว่า 200 คน ได้เงินไปแล้วกว่า 1,200 ล้านบาท

    นอกจากนั้นแบรนสันยังมีธุรกิจเกี่ยวกับ media อีกหลายตัว มีแม้กระทั่งแผนการที่จะทำหนังสือพิมพ์บน iPad โดยใช้ชื่อว่า Project หวังแข่งกับ Daily ของเจ้าพ่อวงการสื่ออย่างรูเพิร์ต เมอร์ด็อกแห่งค่าย Mews Corp.

    ถามว่ามีบริษัทอยู่กว่า 350 บริษัทแล้วจะบริหารอย่างไร แบรนสันตอบว่าเขาไม่ได้มีสำนักงานใหญ่โต แม้จะมีพนักงานในเครืออยู่กว่า 5,000 คน แต่เขาอาศัยหลักมอบความไว้วางใจให้กับพนักงานดูแลงานที่รับผิดชอบอย่างเต็มที่ เขาจะเขียนโน๊ตถึงพนักงานเดือนละครั้งและเชิญชวนให้พนักงานเขียนจดหมายหรือโทรศัพท์ถึงเขาเพื่อพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาการทำงาน การเสนอแนะความคิดหรือพูดถึงความฝันของพนักงานแต่ละคน แบรนสันยังมีเว็บไซด์ Virgin.com เป็นช่องทางให้คนทั่วไปได้เสนอไอเดียใหม่ๆหรือการบุกเบิกธุรกิจที่น่าตื่นเต้นซึ่งเขายินดีจะลงทุนหรือเป็นนายแบบโฆษณาให้เสียด้วยซ้ำ

    พูดได้เต็มปากว่าแบรนสันสนุกกับการใช้ชีวิตในทุกๆนาที การผจญภัยหลายครั้งของเขาเกือบจะต้องเดิมพันด้วยชีวิต แต่ไม่ว่าจะทำอะไรเขาจะมีโลโก้ของ Virgin ไปด้วยเสมอ เท่ากับเป็นการโฆษณาแบรนด์ของเขาอยู่ตลอดเวลา ท่ามกลางความสงสัยว่าทำไมจึงต้องตั้งชื่อว่า Virgin คำตอบก็ง่ายแสนง่าย เป็นชื่อที่เพื่อนร่วมงานหญิงคนหนึ่งเสนอชื่อนี้เพราะเห็นว่าพวกเขาเพิ่งก่อร่างสร้างตัวในการทำธุรกิจ หรือเป็นนักธุรกิจมือใหม่ที่ยังไร้เดียงสา ใสซื่อบริสุทธิ์อยู่นั่นเอง แต่วันนี้ Virgin ขยายอาณาจักรธุรกิจไปทั่วโลก สร้างความมั่งคั่งให้กับริชาร์ด แบรนสัน จนติดอันดับคนที่ร่ำรวยที่สุดของโลกเป็นอันดับที่ 254 ตามการจัดอันดับล่าสุดของนิตยสาร Forbs ประจำปีนี้ ด้วยทรัพย์สินประมาณ 4,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือไม่น้อยกว่า 126,000 ล้านบาท แถมยังมีเกาะส่วนตัวอยู่ในทะเลแคริบเบียนด้วย

    ริชาร์ด แบรนสัน เป็นชาวอังกฤษเกิดเมื่อ 18 กรกฏาคม 1950 เขาเรียนหนังสือไม่จบและมีความรู้สึกว่าการเรียนไม่ใช่เรื่องท้าทายสำหรับเขาเลย มิหนำซ้ำเขายังมีปัญหาสายตาสั้นและรู้สึกอับอายอย่างมากเพราะมีความผิดปกติในการอ่านหรือการสะกดคำซึ่งเขาต้องพยายามจำและนำไปพูดต่อหน้าคน แน่นอนว่าถ้ามีการทดสอบไอคิวจะเป็นเรื่องเลวร้ายสำหรับเขามาก เพราะจะทำให้พบจุดอ่อนของเขามากมาย แต่สุดท้ายก็พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าการทดสอบไอคิวนั้นล้มเหลว ใข้กับแบรนสันไม่ได้ เพราะไอคิวไม่ได้บ่งบอกถึงความสามารถ ความหลงใหล ความทะเยอทะยานหรือความกระตือรือร้น ไม่ได้ระบุถึงไฟภายในร่างกายที่ผลักดันให้คนอย่างริชาร์ด แบรนสันหาช่องทางสร้างความสำเร็จให้กับชีวิตที่วิธีที่ซิกแซ็กซึ่งไม่ได้เป็นไปตามมาตรฐานทั่วไป ไอคิวไม่ได้ระบุถึงความเป็นอัจฉริยะทั้งหมด ไม่ได้พูดถึงความสามารถในการเชื่อมโยงกับประชาชนแบบใจถึงใจ วิญญาณถึงวิญญาณอย่างที่แบรนสันสามารถทำได้ แถมเขายังเต็มไปด้วยอีคิว มีอารมณ์สดชื่น ยิ้มแย้มตลอดเวลา จนไม่เคยปรากฏใบหน้าที่ถมึงทึงหรือตึงเครียดผ่านสื่อมวลชนเลย







    ...

    ตอบลบ
  10. ...ต่อ...





    อัจฉริยะของแบรนสันเริ่มส่อแววตั้งแต่ยังเป็นเด็กนักเรียนซึ่งเขาไม่ชอบกฎระเบียบของโรงเรียนเอาเสียเลย ในวัย 16 ปีเขาจึงออกหนังสือพิมพ์สำหรับนักเรียนโดยใช้ชื่อว่า Student เป็นช่องทางให้ทุกคนได้พูดในสิ่งที่อยากพูดอยากทำตามความรู้สึกของนักเรียนไม่ใช่ของโรงเรียน แต่สามารถเชื่อมโยงสถาบันการศึกษาเข้าหากันได้แถมยังมีรายได้จากการโฆษณาจากบริษัทใหญ่ๆพ่วงเข้ามาด้วย บรรจุไว้ด้วยข้อเขียนที่ไม่ธรรมดามีทั้งระดับรัฐมนตรี ซูเปอร์สตาร์ทางดนตรี ปัญญาชนและดาราและศิลปินที่มีชื่อเสียง ดังนั้นแม้เขาจะได้เงินช่วยเหลือจากแม่แค่ 4 ปอนด์เป็นค่าแสตมป์และค่าโทรศัพท์ ก็เพียงพอที่จะทำให้เขาเริ่มธุรกิจที่ประสบความสำเร็จเป็นชิ้นแรกท่ามกลางคำทำนายของครูใหญ่ที่โรงเรียนว่าถ้าแบรนสันไม่เข้าคุก ก็ต้องเป็นมหาเศรษฐี

    แบรนสันเริ่มขยับขยายธุรกิจด้วยการให้บริการส่งแผ่นเสียงลดราคาทางไปรษณีย์จนกลายเป็นธุรกิจใหญ่โตภายใต้ชื่อ Virgin Records เป็นที่รวมผลงานของศิลปินโด่งดังมากมาย ก่อนที่เขาจะตัดสินใจขาย Virgin Records ให้กับ EMI ไปด้วยราคา 1,000 ล้านดอลลาร์ในปี 1992 แต่ด้วยความรักในธุรกิจนี้เขาก็หวนกลับมาสร้างบริษัท V2 Records อีกครั้งในปี 1996

    หลักการทำธุรกิจของริชาร์ด แบรนสันก็คือการกระโจนลงสู่ธุรกิจที่ยังผู้เล่นรายใหญ่ครองตลาดอยู่ไม่กี่เจ้า เขามีวิธีการโฆษณาที่แปลกแหวกแนว อย่างเช่นการโฆษณา Virgin Cola ซึ่งใหญ่กว่า Pepsi ในยุโรปเสียอีกและกำลังหาทางโค่น Coke ในสหรัฐด้วยซ้ำ วิธีการของแบรนสันก็คือขับรถถังไปยังป้ายโฆษณาของ Coke ที่ไทม์สแควร์ในนิวยอร์ค แล้วก็ยิงป้ายของ Coke เพื่อเป็นการเปิดตัว Virgin Cola ของเขา การโฆษณา Virgin Mobile ด้วยนางพยาบาลแสนซนจนถูกฟ้องจากสมาคมพยาบาลของแคนาดา แต่แบรนสันก็ยังโฆษณาต่อไป หรือแม้แต่การโฆษณาด้วยกระดาษห่อของนิตยสาร Vice ในเทศกาลคริสต์มาสซึ่งมีภาพของเทพบุตรจับหน้าอกของเทพธิดา ขณะที่เทพธิดาก็เอามือจับอวัยวะสืบพันธุ์ของเทพบุตรเป็นต้น จจ หรือการที่แบรนสันยอมแต่งตัวเป็นเจ้าบ่าวเมื่อแอร์โฮสเตสคนหนึ่งเข้ามาหาเขาแล้วเสนอไอเดียว่าน่าจะทำธุรกิจเกี่ยวกับการจัดงานแต่งงาน
    นี่เป็นเพียงเศษเสี้ยวในเรื่องของธุรกิจและแนวความคิดประหลาดๆ ของริชาร์ด แบรนสันเท่านั้น ด้วยความคาดหวังอย่างเต็มที่ว่าวันที่ผมจะมีโอกาสได้เห็นตัวเป็นๆและพูดคุยอย่างใกล้ชิดกับเซอร์ริชาร์ด แบรนสันในวันที่เขาแต่งตัวเป็นแอร์โฮสเตสให้กับ Air Asia น่าจะได้เห็นพฤติกรรมประหลาดๆของอภิมหาเศรษฐีคนนี้อีกครั้ง






    ที่มา : http://www.telecomjournal.net/index.php?option=com_content&task=view&id=4549&Itemid=34










    .

    ตอบลบ