โรคเบาหวาน คืออะไร
โรคเบาหวาน คือความผิดปกติของตับอ่อนที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ ทำให้ขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือฮอร์โมนอินซูลินออกฤทธิ์ได้น้อยลง ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ก่อให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูง เป็นผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือด
อาการของโรคเบาหวานได้แก่ ปัสสาวะบ่อยและมีปริมาณมาก หิวน้ำบ่อย น้ำหนักตัวลด อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ผู้ป่วยบางรายอาจมาพบแพทย์ครั้งแรกด้วยอาการแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้ โรคแทรกซ้อนของเบาหวานที่เกิดเฉียบพลันได้แก่ ภาวะกรดคีโตนคั่งในเลือด และภาวะการเสียการรู้สติจากน้ำตาลสูงในเลือด โรคแทรกซ้อนเรื้อรังได้แก่ โรคแทรกซ้อนที่เกิดกับหลอดเลือดเล็กๆ เช่น โรคแทรกซ้อนที่ตา ไตและเส้นประสาท โรคแทรกซ้อนที่เกิดกับหลอดเลือดขนาดกลางหรือใหญ่ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมองและหลอดเลือดส่วนปลาย อย่างไรก็ตามผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในระยะแรกจะไม่มีอาการผิดปกติใดๆ จะทราบว่าเป็นโรคเบาหวานได้ก็ต่อเมื่อทำการตรวจเลือดดูระดับน้ำตาลเท่านั้น
เบาหวานกับการควบคุมอาหาร
หัวใจในการคุมเบาหวาน คือ การควบคุมระดับน้ำตาลและไขมันให้อยู่ในระดับปกติ หรือใกล้เคียงระดับปกติให้มากที่สุด ซึ่งจะช่วยชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อน (ตา ไต หัวใจ สมอง) ให้เกิดช้าที่สุด ร่วมกับการควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม สามารถทำได้โดยการควบคุมปริมาณอาหาร หรือแคลอรี่ที่กิน ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ น้ำหนักตัวและกิจกรรมประจำวัน
ความอ้วนจะทำให้ร่างกายเกิดการดื้อต่ออินซูลิน ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น การลดน้ำหนักตัวลงจะทำให้อินซูลินทำงานได้ดีขึ้น และระดับน้ำตาลในเลือดจะลดลงตามไปด้วย ดังนั้นผู้เป็นเบาหวานจึงควรปรับเปลี่ยนนิสัยการกินให้ถูกต้อง และดูแลน้ำหนักตัวด้วยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
เป้าหมายการควบคุมเบาหวาน
กินอย่างไรเมื่อเป็นเบาหวาน
* หัวใจสำคัญของการควบคุมเบาหวาน คือการกินอาหารให้พอดีกับความต้องการของร่างกายไม่มากหรือ น้อยเกินไป การกินมากเกินไปจะทำให้น้ำตาลขึ้นสูงหรือ ขึ้นเร็วเกินไป ในขณะเดียวกันถ้ากินน้อยเกินไปอาจทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไปจนเป็นอันตรายได้
* หลักการกินอาหารสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวานก็ไม่แตกต่างจากหลักการกินเพื่อให้มีสุขภาพที่ดีของคนทั่วไป คือการกินอาหารให้ครบทุกหมวดหมู่ให้ถูกสัดส่วน ปริมาณพอเหมาะ และมีความหลากหลาย
* อาหารสำหรับผู้เป็นเบาหวานคือ อาหารทั่วไปที่ไม่แตกต่างจากอาหารที่ทุกคนในครอบครัวควรกินแต่เป็นอาหารที่มีความหลากหลายที่ร่างกายต้องการครบถ้วนและสมดุล จึงเป็นอาหารที่ทุกคนในครอบครัวสามารถกินร่วมกับผู้ป่วยได้
* ผู้ป่วยจำเป็นต้องเรียนรู้และคำนึงถึงเสมอคือปริมาณและชนิดของอาหารที่ควรกินในแต่ละมื้อ ว่าควรจะกินอาหารได้มากน้อยเท่าไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งปริมาณและชนิดของแป้งและไขมัน เป็นสิ่งสำคัญในการควบคุมระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดไม่ให้สูงขึ้น รวมถึงการรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
* ผู้ป่วยควรปฏิบัติให้เป็นนิสัยคือ การกินอาหารมื้อหลักหรืออาหารว่างให้เป็นเวลาทุกวันและกินในปริมาณที่ใกล้เคียงกันในแต่ละวัน ไม่งดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง
* ผู้ป่วยสามารถที่จะลองอาหารแปลกๆ ใหม่ๆ ได้เพื่อไม่ให้เกิดความจำเจถ้าต้องการลดน้ำหนัก ให้ลดอาหารที่กินในแต่ละวันแต่ไม่ควรงดมื้อใดมื้อหนึ่ง เพราะอาจจะทำให้กินเกินอัตราในมื้อต่อไป ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดขึ้นลงไม่สม่ำเสมอ
อาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานแบ่งง่ายๆ ออกเป็น 3 ประเภท คือ
ประเภท 1. อาหารที่ห้ามกิน
* น้ำตาล และขนมหวานๆ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง อาหารเชื่อม เค้ก คุกกี้ ช็อกโกแลต ไอศกรีม ฯลฯ
* ผลไม้ที่มีรสหวานจัด เช่น ทุเรียน องุ่น ลำไย มะม่วงสุก ขนุน ละมุด น้อยหน่า ลิ้นจี่ อ้อย ผลไม้แช่อิ่ม หรือเชื่อมน้ำตาลทั้งหลาย
* เครื่องดื่ม เช่น น้ำอัดลม น้ำแดง โอเลี้ยง กาแฟเย็น ชาเย็น โกโก้เย็นเครื่องดื่มชูกำลัง นมข้นหวาน น้ำเกลือแร่ น้ำผลไม้ ซึ่งมีน้ำตาลประมาณ 8-15% เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นน้ำมะเขือเทศ น้ำผักดื่มได้
ควรดื่มน้ำเปล่า หรือน้ำชาไม่ใส่น้ำตาล ถ้าดื่มกาแฟ ควรดื่มกาแฟดำไม่ใส่น้ำตาล หรือใช้น้ำตาลเทียม
ประเภทที่ 2 อาหารที่กินได้ไม่จำกัดจำนวน
ได้แก่ ผักใบเขียวทุกชนิด เช่น ผักกาด ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง ฯลฯ นำมาทำเป็นอาหารชนิดต่างๆ ตัวอย่างเช่น ต้มจืด ยำ สลัด ผัดผัก เป็นต้น อาหารเหล่านี้มีพลังงานต่ำ นอกจากนั้น ยังมีกากใยอาหารที่เรียกว่า ไฟเบอร์ ซึ่งทำให้การดูดซึมน้ำตาลช้าลง
ประเภทที่ 3 อาหารที่กินได้แต่ต้องเลือกชนิด หรือจำกัดจำนวน
ผู้ป่วยควรเลือกกินอาหารหลากหลายชนิด เพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วนที่ร่างกายต้องการ โดยเลือกกินอาหารตามกลุ่มต่างๆ ซึ่งหมายถึง อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
อาหารแลกเปลี่ยน หมายถึง การแบ่งอาหารออกเป็นหมวดหมู่ในแต่ละหมวดให้พลังงานและสารอาหารใกล้เคียงกันเพื่อใช้ในการคำนวณและกำหนดอาหาร จัดสัดส่วนอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล สามารถควบคุมปริมาณอาหารให้ได้ตามกำหนดช่วยให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เลือกรับประทานอาหารได้หลากหลายชนิดและเข้าใจคุณค่าทางโภชนาการของอาหารได้ง่ายขึ้น
ปริมาณอาหารในแต่ละหมวดใช้หน่วยนับเป็น ”ส่วน” หรือ ” Exchange” เป็นอาหารที่สุกแล้วในแต่ละหมวดมีอาหารหลากหลายให้แลกเปลี่ยนกันได้ ถ้าไม่กินข้าวสามารถเปลี่ยนเป็นขนมปังหรือก๋วยเตี๋ยวหรือขนมจีนในปริมาณที่กำหนดซึ่งจะให้พลังงานและสารอาหารในปริมาณใกล้เคียงกันดังรายละเอียดของอาหารแลกเปลี่ยนในแต่ละหมวดดังนี้
1. หมวดนม
ข้อควรระวัง
2. หมวดผัก
ประเภท ก. เป็นผักที่ให้พลังงานต่ำมากถ้ารับประทานไม่ถึงมื้อละ 1-2 ส่วน ไม่ต้องนำมาคิดเป็นพลังงาน มักจะใช้เป็นสมุนไพรแต่งกลิ่นหรือรสอาหาร
ประเภท ข. เป็นผักที่รับประทานได้ในปริมาณที่ให้พลังงาน
3. หมวดผลไม้
4. หมวดข้าว-แป้ง
5. หมวดเนื้อสัตว์
แบ่งเป็นหลายหมวดตามปริมาณไขมันที่แทรกอยู่ในเนื้อสัตว์นั้น
เนื้อสัตว์ประเภท ก.ไขมันต่ำมาก
เนื้อสัตว์ประเภท ข.ไขมันต่ำ
เนื้อสัตว์ประเภท ค ไขมันปานกลาง
เนื้อสัตว์ประเภท ง ไขมันสูง
6. หมวดไขมัน
ประเภทที่ 1 กลุ่มไขมันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว (MUFA)
ประเภทที่ 2 กลุ่มไขมันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง(PUFA)
ประเภทที่ 3 กลุ่มไขมันที่มีกรดไขมันอิ่มตัว (SAT)
หน่วยตวงที่ควรทราบ
3 ช้อนชา = 1 ช้อนโต๊ะ = 15 มล.
4 ช้อนโต๊ะ = 1/4 ถ้วยตวง = 60 มล.
1/2 ถ้วยตวง = 1 ทัพพี
ปริมาณและสัดส่วนอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานต่อวัน
แบบฟอร์มบันทึกสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ปริมาณและสัดส่วนอาหารสำหรับ ชื่อ .........................................................................
น้ำหนักตัวปัจจุบัน....................กิโลกรัม
น้ำหนักตัวที่ควรจะเป็น....................กิโลกรัม
พลังงานที่ควรได้รับใน 1 วัน.............................กิโลแคลอรี
สรุปการกินอาหารเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ผู้ป่วยโรคเบาหวานในปัจจุบัน มีอิสระในการเลือกอาหารมากขึ้น และอาหารเบาหวานก็มิได้แตกต่างจากอาหารคนปกติ แต่จะเป็นลักษณะของอาหารที่มีน้ำตาลน้อย ไขมันต่ำ รสอ่อนเค็ม ซึ่งเป็นอาหารที่เหมาะสมสำหรับทุกคน มิใช่เฉพาะผู้ป่วยเบาหวานเท่านั้น
ผู้ป่วยเบาหวานจำเป็นต้องเรียนรู้วิธีการเลือกชนิดอาหาร ปริมาณที่กิน การแลกเปลี่ยนและการทดแทนอาหาร เพื่อจะสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างสม่ำเสมอ. ถึงแม้ระดับน้ำตาลในเลือดปกติแล้ว ผู้ป่วยก็ต้องคุมอาหารตลอดไปขอให้ฝึกปฏิบัติจนเป็นนิสัย แล้วจะรู้สึกว่าไม่ใช่เป็นเรื่องยากในการควบคุมอาหาร
ตัวอย่างรายการอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 1 สัปดาห์
หมายเหตุ:ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานเครื่องดื่มไม่ต้องใส่น้ำตาลหรือใช้น้ำตาลเทียมแทน
ตำรับอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ข้าวราดหน้าไก่ซอสขมิ้น
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. นำมันฝรั่งกับกระเทียมมาปั่น ให้ละเอียด
2. ตั้งกะทะ ใส่น้ำมันเล็กน้อย นำหอมใหญ่ที่หั่นไว้ลงผัด นำเนื้อไก่ที่เตรียมไว้ไปผัดให้พอสุก ใส่พริกไทย ขมิ้นผง ใส่มันฝรั่งที่ปั่นไว้ลงกระทะ แล้วผัดให้เข้ากัน ใส่น้ำที่ต้มผักลงแล้วใส่ซอสมะเขือเทศ น้ำมันหอย แป้งมัน คนให้เข้ากัน ใส่ฟักทอง แครอท ยกขึ้นพร้อมเสิร์ฟราดข้าวร้อนๆ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
หมายเหตุ ขมิ้นมีสรรพคุณในการต้านการอักเสบ ป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร
ต้มโคล้งปลากะพงทอดกรอบ
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. ทอดปลาพอเหลือง ตักขึ้นซับน้ำมันออก
2. นำหอมแดง ตะไคร้ ข่าสด พริกขี้หนูแห้งเม็ดเล็กคั่วให้สุก
3. ต้มน้ำซุปให้เดือดใส่หอมแดง ตะไคร้ ข่า รอให้น้ำเดือดอีกครั้งใส่เห็ดปรุงรส น้ำปลา น้ำมะนาว น้ำมะขาม
4. ใส่ใบมะกรูดและผักชีฝรั่ง แล้วนำปลาที่ทอดพักใส่ลงไปในน้ำต้มโคล้ง เสิร์ฟร้อนๆ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
เส้นบุกผัดธัญพืช
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. ทอดเนื้ออกไก่พอเหลืองแล้วตักขึ้น
2. ต้มน้ำให้เดือดเติมเกลือป่นเล็กน้อยใส่เส้นบุกลวกในน้ำเดือดพอสุกตักขึ้น
3. เจียวกระเทียมให้หอม ใส่ถั่วแดงต้มสุก แครอตต้มสุก ข้าวโพดต้มสุก เม็ดถั่วลันเตาต้มสุก
4. ตามด้วยเนื้ออกไก่ทอด เส้นบุก ผัดให้เข้ากันเติมเครื่องปรุงตามส่วน
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
เต้าหู้ผัดผงกะหรี่
ส่วนผสม (สำหรับ 2 ที่)
วิธีทำ
1. นำเต้าหู้ขาวหลอดหั่นตามขวาง มาคลุกแป้งสาลีให้ทั่ว นำไปทอดให้เหลือง
2. นำ ซีอิ๊วขาว น้ำ น้ำมันหอย น้ำตาลเทียม พริกไทยป่น ผงกระหรี่ ผสมรวมกัน
3. นำน้ำมันใส่กระทะ ตั้งไฟพอร้อน ใส่กระเทียม ผัดให้หอม ใส่ส่วนผสมในข้อ 2. ลงผัดให้เข้ากัน ใส่หอมใหญ่ พริกหวาน น้ำ ไข่ไก่ คนให้เข้ากัน พอสุกให้ใส่ ขึ้นฉ่าย เคล้าให้เข้ากัน ตักราดบนเต้าหู้ที่เตรียมไว้ พร้อมเสริฟ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
หมายเหตุ ผงกะหรี่มีสรรพคุณ ช่วยเจริญอาหาร ขับลมและขับปัสสาวะ
พะแนงมะระขี้นก
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. นำมะระขี้นกผ่าครึ่ง ควักไส้ออก ต้มน้ำให้เดือดใส่เกลือนิดหน่อยแล้วนำมะระที่ควักไส้แล้วลงต้มจนสุกพักไว้
2. นำเนื้อปลากรายนวดให้เหนียวยัดลงในมะระ
3. ต้มมะระที่ยัดไส้แล้วในน้ำเดือดให้สุก
4. นำกระทะตั้งไฟใส่น้ำมันพืชและน้ำพริกแกงและยี่หร่าลงผัดให้หอม เติมกะทิธัญพืชที่ผสมกับน้ำเปล่าลงเคี่ยวกับน้ำพริกที่ผัดให้เดือด ปรุงรสด้วย น้ำปลา น้ำตาลเทียม เกลือ ชิมรสและใส่มะระขี้นกยัดไว้ลงผัดกับน้ำพะแนง
5. ตักขึ้นใส่จานเสิร์ฟ โรยหน้าด้วยใบมะกรูดซอยและพริกชี้ฟ้าซอย
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
แก่นตะวันผัดฉ่า
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. นำปลาทับทิมไปนึ่งหรือย่างตามชอบ
2. พริกเหลืองลงผัดให้หอม ตามด้วยกระชายซอย ใบมะกรูดฉีก ปรุงรสด้วยน้ำมันหอย ใส่พริกชี้ฟ้าแดงและใบกะเพราลงผัดให้หอมและชิมรสชาติ
3. ตักขึ้นราดลงบนชิ้นปลาพร้อมเสิร์ฟ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
ไข่มุกมรกต
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. ละลายน้ำตาลฟรุคโตสในน้ำเปล่า ตั้งไฟพอเดือด ยกลง ใส่ น้ำตาลเทียม คนให้เข้ากัน
2. ต้มน้ำ พอเดือดใส่ไข่มุกปั้น 10 กรัม ลงต้ม หมั่นคนบ่อยๆ จนสุก จากนั้น หรี่ไฟลง ปิดฝา ทิ้งไว้ 10 นาที ตักขึ้นใส่ภาชนะ ล้างด้วยน้ำสะอาดหลายๆครั้งจนหมดเมือก จากนั้นใส่ไข่มุกลง คนไม่ให้ไข่มุกติดกัน พักไว้
3. นำใบบัวบก มาล้างให้สะอาด ตัดเป็นท่อน 2-3 ท่อน บดให้ละเอียด คั้นกับน้ำต้มสุกอุ่น กรองด้วยผ้าขาวบาง นำไปแช่เย็นไว้
4. ละลายนมผงขาดมันเนยในน้ำต้มสุกอุ่นเล็กน้อย นำไปผสมกับน้ำใบบัวบกที่แช่เย็นแล้ว จากนั้นเทใส่แก้วที่บรรจุไข่มุกไว้ รับประทานเย็น
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
ฟรุ๊ตปาร์ตี้ ดริ้ง
ส่วนผสม (สำหรับ 1 ที่)
วิธีทำ
1. ละลายน้ำตาลฟรุคโตสกับน้ำเปล่าตั้งไฟให้ละลาย ใส่น้ำตาลดีเอ็ดผสม คนให้เข้ากัน
2. ผสมนมผงขาดมันเนยในน้ำต้มสุกอุ่น
3. หั่นแอปเปิ้ล สตอเบอรี่ ฝรั่ง ส้มโอ เป็นชิ้นเล็กๆ
4. ใส่ผลไม้ที่เตรียมไว้แล้วลงในเครื่องปั่น เติมน้ำเชื่อม และน้ำแข็งบดลงไป จากนั้น ปั่นจนส่วนผสมละเอียด
5. เทใส่แก้วพร้อมเสริฟ์ รับประทานเย็นๆ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ที่
CR :: คู่มืออาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เว็บไซต์โรงพยาบาลราชวิถี
➰Protandim ➰
✅ 1) Protandim ไม่ใช่อาหารเสริม แต่คือตัวช่วยให้โปรตีน NRF2 ในร่างกายทำงานโดยตรงกับยีน ทำให้ความเครียดต่างๆ ในระดับเซลล์และอนุมูลอิสระถูกขจัดออกจากร่างกายเฉลี่ย 40% ใน 30 วัน
โดยไม่จำเป็นต้องกินวิตามินอื่นๆ
(เปรียบเทียบถ้าร่างกายคือเครื่องจักรเก่าๆ NRF2 จะช่วยกำจัดสนิมออกไป)
✅2) Protandim ไม่ใช่ยาหรืออาหารเสริมทั่วไป แต่คือตัวช่วยชะลอวัยในระดับยีน
✅สามารถป้องกันโรคเสื่อมต่างๆ และโรคไม่ติดต่อได้กว่า 200 โรค ฟื้นฟูความแข็งแรง
✅ให้ตับ ไต กระเพาะ สมอง หัวใจ สายตา ข้อ ผม ผิว เล็บ ระบบภูมิคุ้มกันได้ระดับเทียบเท่าตอนอายุ 20
✅โรคต่างๆที่ Nrf2 synergizer หรือ Protandim ช่วยได้ คือ
✅โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้ง เส้นเลือดแข็งกระด้าง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคของระบบหลอดเลือด และหัวใจล้มเหลว
✅ โรคของระบบประสาท รวมทั้ง อัลไซเมอร์, พาคินสัน, ALA✅ มะเร็ง (ป้องกัน) และรักษาร่วมกับการรักษาอื่นๆ ✅โรคไตต่างๆ ✅ โรคเบาหวาน, โรคอ้วน ✅ โรคตับต่างๆโรคเกี่ยวกับปอด รวมทั้งหอบหืด, ถุงลมโป่งพอง ✅ติดเชื้อในกระแสเลือด ✅ โรคออโต้อิมมูนต่างๆ ✅ โรคเกี่ยวกับลำไส้ ✅ HIV/AIDS ✅Multiple clerosis ✅โรคลมชัก เป็นต้น
✅ ย้อนวัยให้สุขภาพได้สูงสุดถึง 40% ภายใน 30 วัน
✅ เอาชนะสัญญาณความเสื่อมของสุขภาพ 70 ประการ
✅ เหนือกว่าสเต็มเซลล์, คอลาเจนและสารต้านอนุมูลอิสระทุกชนิด
✅ เพิ่มการสร้างกลูต้าไธโอนในร่างการสูงสุดถึง 300%
✅ เพิ่มการสร้างเอ็มไซม์เอสโอดีนสูงสุดถึง 34%
✅3) Protandim NRF2 Synergizer ได้รับสิทธิบัตรเดียวในโลก สูตรเดียวในโลก
พัฒนาคิดค้นโดย ดร โจ แมคคอร์ด ผู้ซึ่งได้รับรางวัลนวัตกรรมการชะลอวัยเปลี่ยนโลก (Elliot Cresson Medal)
จากผลวิจัยมหาวิทยาลัยชื่อดังต่างๆ เช่น ฮาวาร์ด เท็กซัส เป็นต้น ทำให้คนเรา
✅สามารถมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นอย่างชัดเจนและอายุยืนขึ้นเฉลี่ย 5-10 ปี หรือ 7%
✅4) ถาม Protandim เหมาะกับใครบ้าง⬇️⬇️⬇️
➡️ตอบ ผู้สูงวัยทุกคน และผู้ที่ทำงานงานหนัก หามรุ่งหามค่ำ เครียด พักผ่อนน้อย เร่งรีบ ทานอาหารไม่เป็นเวลา ป่วยง่าย ระบบ
ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ภูมิแพ้ ผิวพรรณหมองคล้ำ ดื่มแอลกอฮอล์สูบบุหรี่ประจำ เป็นต้น
รวมผลวิจัยความคิดเห็นจากหมอและนักวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับ Protandim และ โปรตีน NRF2 กว่าหมื่นฉบับ
|
ศูนย์ LifeVantage
ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ LifeVantage : Protandim Nrf1 / Nrf2 / ProBio / TrueScience / TrueRenew ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ โทร ☎️ :: 084-110-5021 📍 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line ค่ะ
17 ธันวาคม 2561
โรคเบาหวาน คืออะไร
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น