มนุษย์เราทุกคนเกิดขึ้นมาพร้อม DNA ที่ต่างกัน
DNA หรือ (Deoxyribonucleic acid (ดีออกซิไรโบ นิวคลีอิค แอซิด)) คือรหัสพันธุกรรมพื้นฐานในแต่ละบุคคล ถูกสร้างมาตั้งแต่กำเนิด โดยการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง และจะไม่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ซึ่งรหัสพันธุกรรมพื้นฐานเหล่านี้ ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ รวมทั้งมนุษย์อย่างเราด้วย
DNA คือ อะไร?
DNA ของคนเราจะมาจากการผสมลักษณะทางพันธุกรรม จากพ่อ และแม่อย่างละครึ่ง ซึ่งจะเป็นตัวกำหนด รูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ ความไวต่อสภาพแวดล้อม ความไวต่ออาหาร และ ความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ DNA เป็นตัวบ่งชี้ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ จึงได้มีการนำเอา เทคโนโลยีการตรวจพันธุกรรม หรือ เทคโนโลยีทางชีวภาพมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้านดังนี้
- ด้านการพัฒนายารักษาโรค
- ด้านการป้องกันการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
- ด้านการวินิฉัยสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆ
- ด้านการรักษาโรคบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน
- ด้านกฎหมาย หรือ นิติวิทยาศาสตร์
- ด้านการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม หรือนูทริจีโนมิกส์ (Nutrigenomics)
นูทริจีโนมิกส์ (Nutrigenomics) คืออะไร?
นูทริจีโนมิกส์ (Nutrigenomics) หรือ โภชนพันธุศาสตร์ คือการตรวจ DNA เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโภชนาการ สมรรถภาพร่างกาย และพันธุกรรม ทำให้ทราบถึง ความต้องการสารอาหาร การตอบสนองต่ออาหาร สุขภาพองค์รวม เช่น การเผาผลาญอาหาร และสมรรถภาพร่างกาย
ประโยชน์ของ โภชนพันธุศาสตร์ (Nutrigenomics)
โภชนพันธุศาสตร์ เป็นการนำเอาเทคโนโลยีทางชีวภาพ ด้วยการตรวจ DNA ที่ได้จากการเก็บตัวอย่างจาก น้ำลาย เนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อในกระพุ้งแก้มภายในช่องปาก เลือด และ เส้นผม นำมาเข้าห้องปฏิบัติการ แยกลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ออกมา แล้วนำมาประมวลผล เพื่อประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพต่อไป โดยผลที่ได้ จะแสดงถึงการตอบสนองของร่างกายต่อตัวแปรต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น
ความต้องการสารอาหาร
แสดงถึงความสามารถในการดูดซึม และนำสารอาหารไปใช้ รวมถึงความสามารถในการทำงานของสารอาหาร ว่าร่างกายของผู้ได้รับการตรวจนั้น สามารถดูดซึม และนำสารอาหารไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือสารอาหารนั้นทำงานได้ดีหรือไม่ ได้แก่ กรดโฟลิก วิตามินบี6 วิตามินบี12 วิตามินซี วิตามินดี โอเมก้า3 และสารต้านอนุมูลอิสระ
ความไวต่ออาหาร
แสดงให้เห็นว่าร่างกายของผู้ได้รับการตรวจมีความไวต่ออาหารแต่ละประเภทอย่างไร เช่น ร่างกายตอบสนองต่อคาร์โบไฮเดรตอย่างรวดเร็ว ทำให้มีระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูงขึ้นอย่างรวดเร็วกว่า และน้ำหนักขึ้นง่ายกว่าเมื่อเทียบกับคนที่มีการตอบสนองต่อคาร์โบไฮเดรตแบบปกติ หรือ หากดูเรื่องความไวต่อรสชาติอาหาร บางคนสามารถรับรู้และแยกแยะรสชาติอาหารได้ดีกว่าคนอื่น หรือ บางคนที่รับรู้รสชาติได้น้อยก็อาจทำให้ต้องปรุงอาหารให้มีรสจัดมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการตรวจความไวต่ออาหารอื่นอีก ได้แก่ ไขมัน เกลือ คาเฟอีน และ แอลกอฮอลล์
สุขภาพองค์รวม
แสดงให้เห็นถึงอัตราการเผาผลาญพลังงานของแต่ละบุคคล การตอบสนองต่อการอักเสบ ความเสี่ยงในการเกิดโรค เช่น โรคอ้วน นอกจากนี้ยังแสดงถึงความสามารถในการควบคุมความอยากอาหารได้ด้วย
สมรรถภาพทางร่างกาย
แสดงถึงความสามารถ และ สมรรถภาพทางร่างกาย ว่าร่างกายของผู้ได้รับการตรวจถูกสร้างมาให้เหมาะกับการออกกำลังกายแบบใด และต้องดูแลตัวเองอย่างไรเมื่อต้องการออกกำลังกาย ซึ่งจะแสดงถึง ความเสี่ยงต่ออาการบาดเจ็บ ประสิทธิภาพของการนำออกซิเจนไปใช้ ระยะเวลาในการฟื้นตัวหลังออกกำลังกาย รวมถึงความทนทาน (ความอึด) หรือพละกำลังของร่างกาย
โภชนศาสตร์พันธุกรรม (Nutrigenomics) เหมาะกับใคร
การจัดการโภชนาการ และ การดูแลสุขภาพด้วยการประเมินผลจากการตรวจ DNA นั้น ถือเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งเริ่มได้รับความสนใจในไทย แต่ใช้กันมานานแล้วในอเมริกา โดยเฉพาะในหมู่นักกีฬา ใช้เพื่อจัดโปรแกรมการรับประทานอาหาร และวางตารางการฝึกซ้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านร่างกายให้พร้อมรับกับการฝึก และการแข่งขัน
สำหรับบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ โภชนศาสตร์พันธุกรรม (Nutrigenomics) ยังนิยมใช้ประกอบการวางแผนโภชนาการ เพื่อการลดน้ำหนัก ในกลุ่มคนที่มีปัญหาโรคอ้วน โรคเบาหวาน อีกด้วย
สำหรับคนทั่วไป สามารถใช้ผลตรวจ เพื่อมาปรับใช้ให้เข้ากับชีวิตประจำวัน และสร้างเสริมสุขภาพที่ดีขึ้นได้ เช่น การเลือกรับประทานอาหาร ปริมาณการทานอาหารแต่ละชนิด การเลือกกิจกรรมการออกกำลังกาย ระยะเวลาการออกกำลังกายให้เหมาะสม และการกำหนดเวลาในการฟื้นฟูร่างกายให้เพียงพอ
การตรวจนูทริจีโนมิกส์ (Nutrigenomics) เป็นทางเลือกหนึ่งที่ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เพื่อให้เราเห็นภาพกว้างๆ ว่าร่างกายของแต่ละบุคคลนั้นมีความต้องการอย่างไร ส่วนผลที่ได้รับนั้น ขึ้นอยู่กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเราเองมากกว่า ว่าเมื่อทราบแล้ว จะเพิ่ม จะเสริม จะลดการรับประทานอาหารประเภทไหนบ้าง และ จะดูแลสุขภาพตนเองอย่างไร เพราะสุดท้ายสุขภาพของเราอยู่ในมือเรา ต้องลงมือทำด้วยตนเอง จึงจะเกิดผล
Credit: “Nutrigenomics: The Genome–Food Interface” www.ncbi.nlm.nih.gov, “Nutrigenomics 101” www.foxnews.com, “Nutrigenomics: Does Food Influence How Our Genes Behave?” www.draxe.com/nutrigenomics, “Nutrigenomics to lose weight & Be healthy” www.blog.ring.md, “DNA คืออะไร” www.thaibiotech.info, “เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านการแพทย์และสุขภาพ” www.thaibiotech.info, www.mythaidna.com/th/how-it-works, www.prenetics.com/en/nutrigenomics.html. ; lovefitt.com
คนเราสามารถสร้างร่างกายใหม่ได้
ด้วยหลักโภชนพันธุศาสตร์ได้ อย่างไร
1) เลือกรับประทานอาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ เน้นผักผลไม้มากกว่าเนื้อสัตว์และแป้ง
2) หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูปทุกชนิด อาหารขยะ น้ำอัดลม ควรเลือกความหวานจากธรรมชาติเช่น น้ำผึ้ง น้ำตาลมะพร้าว นมจากถั่วต่างๆ
3) ทานอาหารเพียงวันละ 1-2 มื้อ และเรียงลำดับการกินใหม่ เพื่อยืดอายุอวัยวะทุกส่วนภายในร่างกาย ควรรับประทานผักผลไม้ก่อน ค่อยตามด้วยโปรตีนและแป้ง จะช่วยลดน้ำหนักได้
4) ดื่มน้ำอย่างน้อย 4 แก้วทุกเช้าตอนตื่นนอน เพื่อการหมุนเวียนของเลือดทุกส่วนและนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
5) ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไม่หักโหมเกินไป
6) เพิ่มสารอาหารให้ร่างกายด้วย NRF2 Synergizer ที่ช่วยขจัดพิษทุกอย่างในร่างกาย รวมทั้งความเครียดต่างๆในระดับยีนถึง 40% ใน 30 วัน ด้วยการสร้างเอ็นไซม์กว่า 200 ชนิดเพื่อป้องกันโรคร้ายโรคเสื่อมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
LifeVantage ได้คิดค้นนวัตกรรมที่สามารถปลุก NRF2 กระตุ้นการสร้างเซลล์ใหม่แบบ 1: 1,000,000 เซลล์ ภายใน 1 วินาที ใช้เวลาวิจัยนานถึง 40 ปี งานวิจัยเป็นที่ยอมรับของ สถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก 27 แห่ง LifeVantage ผู้นำทางด้านโภชนพันธุ ศาสตร์ Nutrigenomics พบว่าพฤษเคมีที่มีอยู่ในสมุนไพร ผัก และผลไม้ ส่งผลต่อการทำงาน ของยีนส์
จากหลายร้อยงานวิจัยพบว่าโพรแทนดิม Nrf2 จะช่วยลดความเสื่อมและป้องกันเซลล์ ในขณะที่ Nrf1 จะช่วยให้ไมโตคอนเดรีย Mitochondria ซึ่งทำหน้าที่สร้างพลังงานให้กับเซลล์ ชะลอความชรา และทำให้เซลล์ทรงพลังมากขึ้น ดีสำหรับทุกคน...งานวิจัย Protandim นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ต้านอนุมูลอิสระ อัตรา 1:1,000,000 ต่อวินาที
Protandim Nrf2 สามารถเพิ่มอายุขัยได้ 7%
ผลการศึกษาจาก NIA Protandim ช่วยยืดอายุขัยได้ 7 %
สถาบันวิจัยในผู้สูงวัยแห่งชาติของ อเมริกา
NIA ได้ทำศึกษาวิจัยนี้อย่างไร
เริ่มโดยการที่นักวิทยาศาสตร์ ให้อาหารที่มีโปรแทนดิมผสม ในกลุ่มหนูทดลองอายุ 10 เดือน โดยใช้ในปริมาณสัดส่วนที่ประเมินแล้วว่าเทียบเท่ากับสัดส่วนปกติที่คนใช้ โดยใช้น้ำหนักตัวเป็นเกณฑ์วัดโดยประมาณ และเมื่อหนูมีอายุครบ 17 เดือน ผู้วิจัยก็เพิ่มปริมาณโปรแทนดิมขึ้นอีกเท่าตัว หลังจากนั้นก็เฝ้าสังเกตุ ติดตามผลไปจนตลอดชั่วอายุขัย ของบรรดาหนูทดลองกลุ่มนี้ จนกว่าจะตายลงไปตามธรรมชาติ และนำมาเปรียบเทียบกับบรรดาหนูทดลองที่ไม่ได้รับอาหารผสมโปรแทนดิม
งานศึกษาชิ้นนี้ได้พบอะไรเพิ่มเติมนอกเหนือจากนี้อีกบ้าง
- "จากผลลัพธ์นี้สามารถชี้ได้ว่าการกระตุ้น Nrf2 อาจนำมาซึ่งความสามารถในการทนทานต่อความตึงเครียด และสามารถสังเกตุเห็นได้จากการที่มีชีวิตอยู่ได้นานขึ้น..."
- "โปรแทนดิม, การผสมผสานของสารสกัดที่สามารถกระตุ้น Nrf2 ช่วยเพิ่มค่ามัธยฐานของอายุขัย..."
- งานวิจัยนี้ "สนับสนุนแนวคิดที่ว่า ประสิทธิภาพของ โปรแทนดิม กับการมีอายุยืนนั้นมีส่วนมาจากการกระตุ้นของ Nrf2"
- ผลลัพธ์จากงานวิจัยนี้สามารถชี้ได้ว่า "ประสิทธิภาพของ
โปรแทนดิมนั้นจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อใช้ตั้งแต่ช่วงต้นของชีวิต"
- "อัตราการอยู่รอดในหนูทดลองตัวผู้ในกลุ่มควบคุมนั้น เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญจากผล (P<0.012) ของ [โปรแทนดิม] ด้วยอัตราการอยู่รอดที่เพิ่มขึ้นถึง 7%"
จะมีการศึกษาเพิ่มเติมในโปรแทนดิมอีกหรือไม่?
บรรดานักวิทยาศาสตร์ผู้ทำการวิจัยนี้ได้กล่าวว่า การศึกษาวิจัยต่อไปในอนาคตอาจมีประโยชน์ดังนี้
• ทดสอบประสิทธิภาพของ ปริมาณการใช้งานโปรแทนดิมในปริมาณที่ เพิ่มขึ้น และน้อยลงจากปริมาณที่ใช้อยู่
• ศึกษาถึงการตอบสนองต่อโปรแทนดิมตลอดชั่วอายุขัย เพื่อตัดสินว่ากลไกอะไรในร่างกาย ที่โปรแทนดิมส่งผลทั้งในช่วงต้นและช่วงปลาย
ของชีวิต
สถาบันวิจัยในผู้สูงวัยแห่งชาติของ อเมริกา
องค์กรหนึ่งที่ทำการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับการเสื่อมวัยคือ สถาบันวิจัยในผู้สูงวัยแห่งชาติของ อเมริกา (NIA) เนื่องจากมีผลิตภัณฑ์หลากหลายที่อ้างว่าสามารถชลอวัยได้ อย่างมากมายในท้องตลาด ทาง NIA จึงได้พัฒนาโปรแกรมทดสอบแผนการการชลอวัยขึ้นมา (ITP) ซึ่งโปรแกรมนี้ ตรวจสอบ อาหาร, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และสารประกอบ ที่มีหลักฐานอย่างชัดเจนว่ามีประสิทธิภาพในการชะลอวัย ทาง NIA ได้หวังว่าจะสามารถบ่งชี้ได้ถึงความปลอดภัย, โครงการทดสอบกระบวนการเสื่อมวัย ที่ประหยัดค่าใช้จ่ายที่สามารถช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุยังคงมีสุขภาพที่แข็งแรง และช่วยให้ผู้คนรักษาคุณภาพชีวิตที่ดีเอาไว้
โปรแกรมทดสอบแผนการ (ITP)
การศึกษาได้จัดทำขึ้นในห้องทดลองทั้งสามแห่ง : แจ๊คสัน ลาบอราทอรี, มหาวิทยาลัยแห่งมิชิแกน, และ ศูนย์วิทยาศาสตร์ทางสุขภาพที่ ซาน อันโตนีโอ ในมหาวิทยาลัยเทกซาส
ในแต่ละปี คณะกรรมการในโครงการ ITP ได้ประเมินจากผู้เข้าร่วมในการทดสอบและจะคัดเลือก เพียงห้ารายสำหรับทดสอบในการวิจัยในแลบข้างต้นนี้ บรรดานักวิจัยในโครงการจะดำเนินการทดลองอย่างรัดกุม และเข้มงวดในการประเมินผลลัพธ์เพื่อตัดสินว่า สิ่งที่ได้รับการคัดเลือกมาทดสอบในโครงการนี้นั้นสามารถชลอวัย และชลอการก่อตัวของโรคจากกลุ่มหนูทดลอง
การศึกษาในขั้นตอนที่ 1
พิจารณาประสิทธิภาพโดยดูจากอายุขัย
การศึกษาในขั้นตอนที่ 2
เนื่องจากอายุขัยไม่ได้เพียงแค่เป็นตัวชี้วัดที่ดีที่สุดของประสิทธิภาพของแผนการชะลอวัย ในการส่งเสริมสุขภาพเมื่อแก่ตัว แผนการชะลอวัยที่มีผลกระทบต่ออายุขัยและสุขภาพโดยรวมจากการศึกษาในขั้นตอนที่ 1 จะผ่านเข้ามาศึกษาต่อในขั้นตอนนี้
1. ในขั้นตอนที่ 2 นี้ การทำงานในระบบต่างๆ ของร่างกาย, วิถีแห่งชีวเคมี ที่อาจมีความสัมพันธ์กับการเสื่อมวัย และ
2. ยืนยันประสิทธิภาพของแผนการชลอวัย ที่มีต่ออายุขัย
ผลลัพธ์จาก ITP
นับตั้งแต่เริ่มต้นโปรแกรมทดสอบของ NIA ขึ้นมา ในการทดสอบสมมติฐานจากแผนการชลอวัย ในการเพิ่มอายุขัย มีสารประกอบเพียง 6 ชนิดที่ได้แสดงให้เห็นว่าสามารถยืดอายุขัยได้ และจากสารประกอบทั้ง 6 ชนิดนั้นมีเพียง Protandim Nrf2 Synergizer เท่านั้นที่เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ตัวแทนจำหน่าย Lifevantage ประเทศไทย
สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 🙏🙏🙏 🙏🙏
โทร :: 082-236-4928
Line ID :: pla-prapasara
รับโปรโมชั่น สุดพิเศษ เฉพาะทาง Line นะคะ
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น