GANODERMA กาโนเดอร์มา
กาโนเดอมา (Ganoderma) เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ของหลินจือ หลินจือเป็นชื่อของเห็ดสายพันธุ์หนึ่งที่เรียกว่า กาโนเดอร์มา ลูซิดัม (Ganoderma Lucidum) และของอีกสายพันธุ์หนึ่งที่ใกล้เคียงกันคือ กาโนเดอร์มา ซูเก (Ganoderma Tsugae) กาโนเดอร์มา ลูซิดัมได้รับความเชื่อถือเป็นพิเศษในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งในแถบนี้มีการนำห็ดสายพันธุ์นี้มาใช้เป็นส่วนผสมของยาจีนมานานกว่า 4,000 ปีแล้ว จึงถือเป็นเห็ดสายพันธุ์แรก ๆ ที่มีการบันทึกไว้ว่ามีการนำมาใช้ปรุงยา
คำว่าหลินจือในภาษาจีนหมายถึง “สมุนไพรบำรุงจิตใจ” และยังได้รับการขนานนามให้เป็น “เห็ดอายุวัฒนะ” ด้วยคุณประโยชน์นานาประการต่อสุขภาพที่เป็นที่ยอมรับกันและการไม่ปรากฏว่ามีผลข้างเคียงแต่อย่างใด จึงทำให้เห็ดชนิดนี้มีชื่อเสียงในหมู่ประเทศทางตะวันออกว่าเป็นยาสมุนไพรที่มีสรรพคุณยอดเยี่ยม เห็ดหลินจือได้รับการขึ้นชื่อไว้ในวารสารวิชาการระดับโลกเกี่ยวกับสมุนไพรคือ อเมริกัน เฮอร์บัล ฟาร์มาโคเปีย แอนด์ เทราพิวทิค คอมเพ็นเดียม (American Herbal Pharmacopoeia and Therapeutic Compendium)
เห็ดหลินจือ ยังมีความหมายเป็นภาษาไทยว่า สมุนไพรแห่งจิตวิญญาณ เห็ดหิมะหรือบัวหิมะ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ให้ความหมายว่า เห็ดหมื่นปี บางสำนักได้ให้ความหมายว่า ยาเทวดา หญ้าเทวดา หญ้าเก้ากิ่ง หรือยาเซียน คือ ราชาสมุนไพรอันวิเศษที่มีประสิทธิภาพสูงมีเกียรติประวัติอันยาวนานจากอดีตจนถึงปัจจุบัน มากด้วยสรรพคุณกว่าสมุนไพรอื่นใดทั้งสิ้น คนโบราณจะหาตามป่าเขาหรือตามป่าฝนในเขตร้อนที่ขึ้นตามธรรมชาติเพื่อนำมาเป็นอาหารบำรุง และบำบัดโรค
ประโยชน์ของเห็ดหลินจือ
เห็ดหลินจือ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพภูมิคุ้มกันโรค เป็นยาอายุวัฒนะที่มีประสิทธิภาพสูง ช่วยทำให้ระบบต่างๆ ของร่างกายเกิดความสมดุลตามธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบทั้ง 3 ของร่างกาย ได้แก่
1. ระบบทางเดินอาหาร
- ✅ โรคกระเพาะอักเสบ
- ✅ ลำไส้อักเสบ
- ✅ ทางเดินอาหารอักเสบเรื้อรัง
- ✅ อาหารเป็นพิษสารตกค้าง
- ✅ ร่างกายมีกรด
- ✅ เบื่ออาหาร
- ✅ ท้องผูก
- ✅ ริดสีดวงทวาร
2. ระบบทางเดินหายใจ
- ✅ โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
- ✅ ไข้หวัด
- ✅ หืด หอบ
- ✅ ภูมิแพ้
- ✅ อาการไอ
- ✅ ริดสีดวงจมูก
3. ระบบไหลเวียนของโลหิต
- ✅ โรคที่เกิดจากการมีคลอเลสเตอรอลในเลือดสูง
- ✅ เส้นเลือดอุดตัน
- ✅ หลอดเลือดแข็งตัว
- ✅ ความดันโลหิตสูง
- ✅ ความดันโลหิตต่ำ
- ✅ โรคหัวใจ
- ✅ รอบเดือนไม่ปกติของสตรี
4. โรคอื่นๆ
- ✅ โรคตับอักเสบ
- ✅ โรคไตอักเสบ
- ✅ การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
- ✅ โรคประสาท
- ✅ โรคปวดหัวข้างเดียว นอนไม่หลับ
- ✅ โรคเครียด
- ✅ ลมบ้าหมู
- ✅ สิว
- ✅ ฝี
- ✅ โรคผิวหนัง
- ✅ ผิวแตกมีน้ำเหลืองเป็นแผลภายใน-ภายนอก
- ✅ โรคเกาต์
- ✅ นิ่ว
- ✅ อัมพาต
- ✅ อัมพฤกษ์
- ✅ ภาวะที่มีบุตรยาก
ผู้เริ่ม..หรือ..เมื่อเริ่มรับประทานหลินจือใหม่ๆ หลินจือจะเข้าไปรักษาโรค โดยการขับพิษ ขับโรคที่ฝังลึกภายในร่างกาย และในระยะแรกร่างกายจึงแสดง ปฎิกิริยาอาการของโรคออกมา ซึ้งแต่ละคนจะแสดงอาการออกมาไม่เหมือนกัน ที่เราเรียกว่า “การแสดงปฎิกิริยาอาการของโรค” อันเป็นสัญญาณบอกให้ทราบว่าขบวนการขับพิษขับโรคได้เกิดขึ้นแล้ว และการเกิดปฎิกิริยาดังกล่าว คือ หลินจือ ได้บอกให้เราทราบเกี่ยวกับอาการของโรค และปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพของเราที่มี และปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นนี้จะปรากฏเพียงระยะเวลาสั้นๆ 2 วัน หรือ 3-5 วัน แล้วแต่อาการของผู้ป่วย เป็นมากหรือเป็นน้อย
จมูก : มีความสัมพันธ์กับลำคอ และปอด
ริมฝีปาก : มีความเกี่ยวเนื่องกับระบบย่อย
หู : แสดงถึงปฏิกิริยาความผิดปกติของไต
ศรีษะ : เกี่ยวข้องกับระบบโลหิต หัวใจ และสมอง
ผิวหนัง/ร่างกาย : บอกอะไรกับเราเกี่ยวกับสุขภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น