สิ่งที่จะเป็นที่ครูจะต้องตระหนักถึง เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดเรียนรู้แบบ STAD มี 2 ประการคือ
1. เป้าหมายของกลุ่ม (Group Goal) เงื่อนไขนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้เรียน ทั้งนี้เพราะกลุ่มจำเป็นต้องให้สมาชิกทุกคนใน กลุ่มได้ทราบเป้าหมายของกลุ่มในการร่วมมือกันทำงาน ถ้าปราศจากเงื่อนไขข้อนี้งานจะสำเร็จไม่ได้เลย
2. ความรับผิดชอบต่อตนเอง (Individual Accountability) สมาชิกในกลุ่มทุกคนจะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองเท่าๆกับรับผิดชอบต่อกลุ่ม กล่าวคือ กลุ่มจะได้รับการชมเชยหรือได้รับคะแนนต้องเป็นผลสืบเนื่องมาจากคะแนนรายบุคคลของสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งจะนำไปแปลงเป็นคะแนนของกลุ่มของกลุ่มโดยใช้ระบบ กลุ่มสัมฤทธิ์ นั่นเอง ทั้งสองเงื่อนไขนี้มีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กัน ซึ่งมีผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD กล่าวคือเป้าหมายของกลุ่มเป็นสิ่งจำเป็นสิ่งที่จะทำให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจที่จะช่วยเหลือสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่มให้เรียนรู้ได้เหมือนตน ถ้าปราศจากเป้าหมายของกลุ่มนักเรียนก็จะทำงานผิดจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นนักเรียนจึงต้องทราบเป้าหมายของกลุ่มเพื่อความสำเร็จในการเรียน ยิ่งไปกว่านั้นเป้าหมายของกลุ่มอาจจะช่วยให้นักเรียนผ่านพ้นความสงสัย ลังเล ไม่แน่ใจในการที่จะตั้งคำถามถามครู ซึ่งถ้าปราศจากข้อนี้ นักเรียนจะไม่กล้าถาม ในขณะเดียวกันถ้าปราศจากความรับผิดชอบต่อเองของสมาชิกในกลุ่มนั่นคือ หมายความว่าสมาชิก 2 หรือ 3 ภายในกลุ่มเท่านั้นที่ต้องทำงานเองทั้งหมด ส่วนที่เหลือจะไม่ลงปฏิบัติงานกับเพื่อนในกลุ่ม และไม่ไห้ความร่วมมืออันจะเป็นสาเหตุให้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD ประสบความล้มเหลวได้ในที่สุด
หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ในการจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น สมาชิกในกลุ่มทุกคนต้องปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน 5 ประการดังต่อไปนี้
1. การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก (Positive Interdependent) นักเรียนจะรู้สึกว่าตนเองจำเป็นจะต้องอาศัยผู้อื่นในการที่จะทำงานกลุ่มให้สำเร็จ กล่าวคือ "ร่วมเป็นร่วมตาย" วิธีการที่จะทำให้เกิดความรู้สึกเช่นนี้อาจจะทำได้โดยทาให้มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เช่น ถ้านักเรียนทำคะแนนกลุ่มได้สูงแต่ละคนจะได้รับรางวัลร่วมกัน ประเด็นที่สาคัญก็คือสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องทำงานกลุ่มให้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งความสำเร็จนี้จะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกทุกคน จะไม่มีการยอมรับความสาคัญหรือความสามารถของบุคคลเพียงคนเดียว
2. การติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรง (Face to Face Interaction) เนื่องจากการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก มิใช่วิธีที่จะทำให้เกิดผลอย่างปฎิหาริย์แต่ ผลดีที่จะเกิดขึ้นจากการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันละกันนั้น จะต้องมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่างนักเรียนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม ในการจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น การสรุปเรื่องการอธิบาย การขยายความในบทเรียนที่เรียนมาให้แก่เพื่อนในกลุ่มเป็นลักษณะสัมพันธ์ของการติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ดังนั้นจึงควรมีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันโดยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้เสนอแนวคิดใหม่ๆ เพื่อเลือกสิ่งที่ดี ที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุด
3. การรับผิดชอบงานกลุ่มของกลุ่ม (Individual Accountability at Group Work) การจัดการเรียนรู้แบบ STAD จะถือว่าไม่สำเร็จจนกว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะได้เรียนรู้เรื่องในบทเรียนได้ทุกคน หรือได้รับการช่วยเหลือจากเพื่อนในกลุ่มให้ได้เรียนรู้ได้ทุกคนเพราะฉะนั้นจึงจำเป็นต้องวัดผลการเรียนของแต่ละคนเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้ช่วยเหลือเพื่อนที่เรียนไม่เก่ง บางทีครูอาจจะใช้วิธีทดสอบสมาชิกในกลุ่มเป็นรายบุคคลหรือสุ่มเรียกบุคคลใดบุคคลหนึ่งในกลุ่มเป็นผู้ตอบ ด้วยวิธีดังกล่าวกลุ่มจะต้องช่วยกันเรียนรู้และช่วยกันทำงาน มีความรับผิดชอบต่องานของตนเป็นพื้นฐาน ซึ่งทุกคนจะต้องเข้าใจและรู้แจ้งในงานที่ตนเองรับผิดชอบ อันจะก่อให้เกิดผลสำเร็จของกลุ่มตามมา
4. ทักษะในความสัมพันธ์กับกลุ่มเล็กและผู้อื่น (Social skills) นักเรียนทุกคนไม่ได้มาโรงเรียนพร้อมกับทักษะในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เพราะฉะนั้นจึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะช่วยนักเรียนในการสื่อสารการเป็นผู้นำ การไว้ใจผู้อื่น การตัดสินใจ การแก้ ปัญหา ความขัดแย้ง ครูควรจัดสถานการณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ทักษะมนุษยสัมพันธ์และกลุ่มสัมพันธ์เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ครูควรสอบทักษะและมีการประเมินการทางานของกลุ่มนักเรียนด้วย การที่จัดนักเรียนที่ขาดทักษะในการทางานกลุ่มมาทางานร่วมกันจะทาให้การทางานนี้ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงการที่จัดให้นักเรียนมานั่งทางานเป็นกลุ่มเท่านั้น ซึ่งจุดนี้เป็นหลักการหนึ่งที่ทาให้นักเรียนที่เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD แตกต่างจาการเรียนเป็นกลุ่มแบบเดิมที่เคยใช้กันมานาน จากทักษะการทงานกลุ่มนี้เองที่จะทำให้นักเรียนช่วยเหลือ เอื้ออาทรในการถ่ายถอดความรู้ซึ่งกันและกัน และมีการร่วมมือในกลุ่ม ดังนั้นทุกคนจึงเกิดการเรียนรู้ที่จะมีส่วนร่วมในการทำงานให้กลุ่มได้รับความสำเร็จ
5. กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การให้นักเรียนมีเวลาและใช้กระบวนการในการวิเคราะห์ว่ากลุ่มทำงานได้เพียงใด และสามารถใช้ทักษะสังคมและมนุษยสัมพันธ์ได้เหมาะสม กระบวนการกลุ่มนี้จะช่วยให้สมาชิกในกลุ่มทำงานได้ผล ในขณะที่สัมพันธภาพในกลุ่มก็จะเป็นไปด้วยดี กล่าวคือ กลุ่มจะมีความเป็นอิสระโดยสมาชิกในกลุ่ม สามารถจัดกระบวนการกลุ่มและสามารถแก้ปัญหาด้วยตัวของพวกเขาเอง ทั้งนี้ข้อมูลย้อนกลับจากครูหรือเพื่อนนักเรียนที่เป็นผู้สังเกตจะช่วยให้กลุ่มได้ดำเนินการได้เป็นอย่างดีและประสิทธิภาพมากขึ้น
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Student Teams – Achievemen Division: STAD)
สลาวิน (Slavin. 1989: 87) กล่าวถึงรูปแบบการสอนแบบกลุ่มสัมฤทธิ์ไว้ว่า เป็นการจัดสมาชิกกลุ่มละ 4-5 คน แบบคละความสามารถด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพศ โดยครูจะทำการเสนอบทเรียนให้นักเรียนทั้งชั้นก่อน แล้วให้แต่ละกลุ่มทางานตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอนเมื่อสมาชิกในกลุ่มช่วยกันทาแบบฝึกหัดและทบทวนบทเรียนที่เรียนจบแล้ว ครูจะให้ นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบประมาณ 15-20 นาที คะแนนที่ได้จากการทดสอบจะถูกแปลงคะแนนของแต่ละกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มสัมฤทธิ์ (Achievement Division) ซึ่งการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ์มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 การเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น ประกอบด้วยการแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ แจ้งคะแนนฐานของแต่ละบุคคล บอกเกณฑ์ได้ละรางวัล ทบทวนความรู้และสอนเนื้อหาใหม่ของบท เรียนต่อนักเรียนทั้งห้องโดยครูผู้สอน ซึ่งครูผู้สอนต้องใช้กิจกรรมการสอนที่เหมาะสมตามลักษณะของเนื้อหาบทเรียน โดยใช้สื่อการเรียนการสอนประกอบคำอธิบายของครู เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาบทเรียน
ขั้นที่ 2 การเรียนกลุ่มย่อย ซึ่งแต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก 4 คน ซึ่งสมาชิกกลุ่มจะมีความแตกต่างกันเรื่องระดับสติปัญญา ซึ่งหน้าที่สาคัญของกลุ่มก็คือการเตรียมสมาชิกของกลุ่มให้สามารถทาแบบทดสอบได้ดี กิจกรรมของกลุ่มจะอยู่ในรูปการอภิปรายหรือการแก้ปัญหาร่วม กันการแก้ความเข้าใจผิดของเพื่อนในกลุ่ม กลุ่มจะต้องทำให้ดีที่สุดเพื่อช่วยสมาชิกแต่ละคนของกลุ่มจะต้องช่วยสอนเสริมเพื่อให้เพื่อนในกลุ่มเข้าใจเนื้อหาสิ่งที่เรียนมาทั้งหมด ซึ่งการทำงานของกลุ่มเน้นความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม การนับถือตนเอง (Self – Esteem) และการยอมรับเพื่อนที่เรียนอ่อนซึ่งสิ่งที่นักเรียนควรคำนึงถึงคือ นักเรียนช่วยเหลือเพื่อนให้รู้เนื้อหาอย่างถ่องแท้ นักเรียนไม่สามารถศึกษาเนื้อหาจบคนเดียวโดยที่เพื่อนในกลุ่มไม่เข้าใจ ถ้าหากไม่เข้าใจควรปรึกษาเพื่อนในกลุ่มก่อนปรึกษาครู และในการปรึกษาในกลุ่มไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนกลุ่มอื่น และให้แต่ละกลุ่มย่อยศึกษาหัวข้อที่เรียนจากใบงานหรือแบบฝึกหัดที่ครูกำหนดประมาณ 2-3 ข้อโดยสมาชิกในกลุ่มช่วยกันปฏิบัติตามใบงานและแบ่งหน้าที่การทากิจกรรมดังนี้ คะแนนของแต่ละกลุ่มที่เรียกว่าคะแนนกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ซึ่งในการทดสอบนักเรียนทุกคนจะทำข้อสอบตามความสามารถของตนโดยไม่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ขั้นที่ 3 การทดสอบย่อย หลังจากเรียนไปแล้ว นักเรียนต้องได้รับการทดสอบ โดยครูทำการทดสอบวัดความเข้าใจประมาณ 15 – 20 นาที และคะแนนที่ได้จากการทดสอบจะถูกแปลงเป็นคะแนนของแต่ละกลุ่มที่เรียกว่า คะแนนกลุ่มสัมฤทธิ์ ซึ่งในการทดสอบนักเรียนทุกคนจะทำข้อสอบตามความสามารถของตนโดยไม่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ขั้นที่ 4 การคิดคะแนนในการพัฒนาตนเองและของกลุ่ม ซึ่งเป็นคะแนนที่ได้จากการ เปรียบเทียบคะแนนที่สอบได้กับคะแนนฐาน (Base Score) โดยคะแนนที่ได้จะเป็นคะแนน ความก้าวหน้าของผู้เรียน ซึ่งนักเรียนจะทำได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับความขยันที่เพิ่มขึ้นจากครั้งก่อนหรือ ไม่นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้คะแนนสูงสุดเพื่อช่วยกลุ่ม หรืออาจไม่ได้เลยถ้าหากได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนฐานเกิน 10 คะแนน ในการทดสอบแต่ละครั้งนักเรียนแต่ละคนจะได้คะแนนพัฒนา จากนั้นก็จะนำคะแนนของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกันแล้วคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ถ้ากลุ่มใดได้คะแนนเฉลี่ยสูงถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ครูจะให้รางวัล การที่กลุ่มประสบความสำเร็จได้นั้นต้องขึ้นอยู่กับคะแนนของสมาชิกทุกคน สลาวิน (Slavin) ได้ให้แนวปฏิบัติการคิดคะแนนพัฒนาไว้ดังนี้ ให้นำคะแนนแบบทดสอบของแต่ละคนไปเทียบกับคะแนนฐาน (Base Score) แล้วคิดเทียบเป็นคะแนนพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จากนั้นนาคะแนนพัฒนาของสมาชิกในกลุ่มมารวมกันแล้วนามาคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ถ้ากลุ่มใดได้คะแนนสูงหรือถึงเกณฑ์ที่กำหนดก็จะได้รางวัล ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งความสำเร็จ การคิดคะแนนฐานทำได้โดยการนำระดับผลการเรียนในวิชาเดียวกันของภาคเรียนที่ผ่านมา หรือคะแนนจากหน่วยทดสอบที่ผ่านมา แล้วนามาเฉลี่ยเป็นคะแนนฐานโดยในการสอบแต่ละครั้งจะต้องมีคะแนนเต็มเท่ากันคือ 100 คะแนน เช่น ถ้าสมศักดิ์ทาการทดสอบ 4 ครั้งได้คะแนนดังนี้ 80, 86, 78 และ 92 คะแนนตามลำดับ สมศักดิ์จะมีคะแนนฐาน 84 คะแนน แล้วนำคะแนนฐานไปเปรียบเทียบคิดหาคะแนนพัฒนา (improvement Points)
ในการทดสอบแต่ละครั้งนักเรียนทุกคนจะต้องรู้คะแนนฐานของตนเองก่อนแล้วคำนวณว่าตนเองจะต้องทำคะแนนอีกเท่าไรถึงจะได้คะแนนพัฒนาตามที่คาดหวังไว้ ซึ่งคะแนนพัฒนาของแต่ละคนขึ้นอยู่กับความพยายามที่จะทำคะแนนการทดสอบให้มากกว่าคะแนนฐานเพื่อผลประโยชน์ของตนเองและของกลุ่ม ถ้ากลุ่มใดได้คะแนนสูงหรือถึงเกณฑ์ที่กำหนดก็จะได้รับรางวัล ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งความสาเร็จ
ขั้นที่ 5 การยกย่องกลุ่มที่ประสบผลสำเร็จ กลุ่มจะได้รับรางวัลเมื่อคะแนนถึงเกณฑ์ที่ครูตั้งไว้ ได้แก่ กลุ่มเก่ง กลุ่มเก่งมาก และกลุ่มยอดเยี่ยม
1. เป้าหมายของกลุ่ม (Group Goal) เงื่อนไขนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้เรียน ทั้งนี้เพราะกลุ่มจำเป็นต้องให้สมาชิกทุกคนใน กลุ่มได้ทราบเป้าหมายของกลุ่มในการร่วมมือกันทำงาน ถ้าปราศจากเงื่อนไขข้อนี้งานจะสำเร็จไม่ได้เลย
2. ความรับผิดชอบต่อตนเอง (Individual Accountability) สมาชิกในกลุ่มทุกคนจะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองเท่าๆกับรับผิดชอบต่อกลุ่ม กล่าวคือ กลุ่มจะได้รับการชมเชยหรือได้รับคะแนนต้องเป็นผลสืบเนื่องมาจากคะแนนรายบุคคลของสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งจะนำไปแปลงเป็นคะแนนของกลุ่มของกลุ่มโดยใช้ระบบ กลุ่มสัมฤทธิ์ นั่นเอง ทั้งสองเงื่อนไขนี้มีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กัน ซึ่งมีผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD กล่าวคือเป้าหมายของกลุ่มเป็นสิ่งจำเป็นสิ่งที่จะทำให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจที่จะช่วยเหลือสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่มให้เรียนรู้ได้เหมือนตน ถ้าปราศจากเป้าหมายของกลุ่มนักเรียนก็จะทำงานผิดจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นนักเรียนจึงต้องทราบเป้าหมายของกลุ่มเพื่อความสำเร็จในการเรียน ยิ่งไปกว่านั้นเป้าหมายของกลุ่มอาจจะช่วยให้นักเรียนผ่านพ้นความสงสัย ลังเล ไม่แน่ใจในการที่จะตั้งคำถามถามครู ซึ่งถ้าปราศจากข้อนี้ นักเรียนจะไม่กล้าถาม ในขณะเดียวกันถ้าปราศจากความรับผิดชอบต่อเองของสมาชิกในกลุ่มนั่นคือ หมายความว่าสมาชิก 2 หรือ 3 ภายในกลุ่มเท่านั้นที่ต้องทำงานเองทั้งหมด ส่วนที่เหลือจะไม่ลงปฏิบัติงานกับเพื่อนในกลุ่ม และไม่ไห้ความร่วมมืออันจะเป็นสาเหตุให้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD ประสบความล้มเหลวได้ในที่สุด
หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ในการจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น สมาชิกในกลุ่มทุกคนต้องปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน 5 ประการดังต่อไปนี้
1. การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก (Positive Interdependent) นักเรียนจะรู้สึกว่าตนเองจำเป็นจะต้องอาศัยผู้อื่นในการที่จะทำงานกลุ่มให้สำเร็จ กล่าวคือ "ร่วมเป็นร่วมตาย" วิธีการที่จะทำให้เกิดความรู้สึกเช่นนี้อาจจะทำได้โดยทาให้มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เช่น ถ้านักเรียนทำคะแนนกลุ่มได้สูงแต่ละคนจะได้รับรางวัลร่วมกัน ประเด็นที่สาคัญก็คือสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องทำงานกลุ่มให้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งความสำเร็จนี้จะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกทุกคน จะไม่มีการยอมรับความสาคัญหรือความสามารถของบุคคลเพียงคนเดียว
2. การติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรง (Face to Face Interaction) เนื่องจากการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก มิใช่วิธีที่จะทำให้เกิดผลอย่างปฎิหาริย์แต่ ผลดีที่จะเกิดขึ้นจากการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันละกันนั้น จะต้องมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่างนักเรียนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม ในการจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น การสรุปเรื่องการอธิบาย การขยายความในบทเรียนที่เรียนมาให้แก่เพื่อนในกลุ่มเป็นลักษณะสัมพันธ์ของการติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ดังนั้นจึงควรมีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันโดยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้เสนอแนวคิดใหม่ๆ เพื่อเลือกสิ่งที่ดี ที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุด
3. การรับผิดชอบงานกลุ่มของกลุ่ม (Individual Accountability at Group Work) การจัดการเรียนรู้แบบ STAD จะถือว่าไม่สำเร็จจนกว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะได้เรียนรู้เรื่องในบทเรียนได้ทุกคน หรือได้รับการช่วยเหลือจากเพื่อนในกลุ่มให้ได้เรียนรู้ได้ทุกคนเพราะฉะนั้นจึงจำเป็นต้องวัดผลการเรียนของแต่ละคนเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้ช่วยเหลือเพื่อนที่เรียนไม่เก่ง บางทีครูอาจจะใช้วิธีทดสอบสมาชิกในกลุ่มเป็นรายบุคคลหรือสุ่มเรียกบุคคลใดบุคคลหนึ่งในกลุ่มเป็นผู้ตอบ ด้วยวิธีดังกล่าวกลุ่มจะต้องช่วยกันเรียนรู้และช่วยกันทำงาน มีความรับผิดชอบต่องานของตนเป็นพื้นฐาน ซึ่งทุกคนจะต้องเข้าใจและรู้แจ้งในงานที่ตนเองรับผิดชอบ อันจะก่อให้เกิดผลสำเร็จของกลุ่มตามมา
4. ทักษะในความสัมพันธ์กับกลุ่มเล็กและผู้อื่น (Social skills) นักเรียนทุกคนไม่ได้มาโรงเรียนพร้อมกับทักษะในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เพราะฉะนั้นจึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะช่วยนักเรียนในการสื่อสารการเป็นผู้นำ การไว้ใจผู้อื่น การตัดสินใจ การแก้ ปัญหา ความขัดแย้ง ครูควรจัดสถานการณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ทักษะมนุษยสัมพันธ์และกลุ่มสัมพันธ์เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ครูควรสอบทักษะและมีการประเมินการทางานของกลุ่มนักเรียนด้วย การที่จัดนักเรียนที่ขาดทักษะในการทางานกลุ่มมาทางานร่วมกันจะทาให้การทางานนี้ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงการที่จัดให้นักเรียนมานั่งทางานเป็นกลุ่มเท่านั้น ซึ่งจุดนี้เป็นหลักการหนึ่งที่ทาให้นักเรียนที่เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD แตกต่างจาการเรียนเป็นกลุ่มแบบเดิมที่เคยใช้กันมานาน จากทักษะการทงานกลุ่มนี้เองที่จะทำให้นักเรียนช่วยเหลือ เอื้ออาทรในการถ่ายถอดความรู้ซึ่งกันและกัน และมีการร่วมมือในกลุ่ม ดังนั้นทุกคนจึงเกิดการเรียนรู้ที่จะมีส่วนร่วมในการทำงานให้กลุ่มได้รับความสำเร็จ
5. กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การให้นักเรียนมีเวลาและใช้กระบวนการในการวิเคราะห์ว่ากลุ่มทำงานได้เพียงใด และสามารถใช้ทักษะสังคมและมนุษยสัมพันธ์ได้เหมาะสม กระบวนการกลุ่มนี้จะช่วยให้สมาชิกในกลุ่มทำงานได้ผล ในขณะที่สัมพันธภาพในกลุ่มก็จะเป็นไปด้วยดี กล่าวคือ กลุ่มจะมีความเป็นอิสระโดยสมาชิกในกลุ่ม สามารถจัดกระบวนการกลุ่มและสามารถแก้ปัญหาด้วยตัวของพวกเขาเอง ทั้งนี้ข้อมูลย้อนกลับจากครูหรือเพื่อนนักเรียนที่เป็นผู้สังเกตจะช่วยให้กลุ่มได้ดำเนินการได้เป็นอย่างดีและประสิทธิภาพมากขึ้น
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Student Teams – Achievemen Division: STAD)
สลาวิน (Slavin. 1989: 87) กล่าวถึงรูปแบบการสอนแบบกลุ่มสัมฤทธิ์ไว้ว่า เป็นการจัดสมาชิกกลุ่มละ 4-5 คน แบบคละความสามารถด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพศ โดยครูจะทำการเสนอบทเรียนให้นักเรียนทั้งชั้นก่อน แล้วให้แต่ละกลุ่มทางานตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอนเมื่อสมาชิกในกลุ่มช่วยกันทาแบบฝึกหัดและทบทวนบทเรียนที่เรียนจบแล้ว ครูจะให้ นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบประมาณ 15-20 นาที คะแนนที่ได้จากการทดสอบจะถูกแปลงคะแนนของแต่ละกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มสัมฤทธิ์ (Achievement Division) ซึ่งการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ์มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 การเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น ประกอบด้วยการแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ แจ้งคะแนนฐานของแต่ละบุคคล บอกเกณฑ์ได้ละรางวัล ทบทวนความรู้และสอนเนื้อหาใหม่ของบท เรียนต่อนักเรียนทั้งห้องโดยครูผู้สอน ซึ่งครูผู้สอนต้องใช้กิจกรรมการสอนที่เหมาะสมตามลักษณะของเนื้อหาบทเรียน โดยใช้สื่อการเรียนการสอนประกอบคำอธิบายของครู เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาบทเรียน
ขั้นที่ 2 การเรียนกลุ่มย่อย ซึ่งแต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก 4 คน ซึ่งสมาชิกกลุ่มจะมีความแตกต่างกันเรื่องระดับสติปัญญา ซึ่งหน้าที่สาคัญของกลุ่มก็คือการเตรียมสมาชิกของกลุ่มให้สามารถทาแบบทดสอบได้ดี กิจกรรมของกลุ่มจะอยู่ในรูปการอภิปรายหรือการแก้ปัญหาร่วม กันการแก้ความเข้าใจผิดของเพื่อนในกลุ่ม กลุ่มจะต้องทำให้ดีที่สุดเพื่อช่วยสมาชิกแต่ละคนของกลุ่มจะต้องช่วยสอนเสริมเพื่อให้เพื่อนในกลุ่มเข้าใจเนื้อหาสิ่งที่เรียนมาทั้งหมด ซึ่งการทำงานของกลุ่มเน้นความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม การนับถือตนเอง (Self – Esteem) และการยอมรับเพื่อนที่เรียนอ่อนซึ่งสิ่งที่นักเรียนควรคำนึงถึงคือ นักเรียนช่วยเหลือเพื่อนให้รู้เนื้อหาอย่างถ่องแท้ นักเรียนไม่สามารถศึกษาเนื้อหาจบคนเดียวโดยที่เพื่อนในกลุ่มไม่เข้าใจ ถ้าหากไม่เข้าใจควรปรึกษาเพื่อนในกลุ่มก่อนปรึกษาครู และในการปรึกษาในกลุ่มไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนกลุ่มอื่น และให้แต่ละกลุ่มย่อยศึกษาหัวข้อที่เรียนจากใบงานหรือแบบฝึกหัดที่ครูกำหนดประมาณ 2-3 ข้อโดยสมาชิกในกลุ่มช่วยกันปฏิบัติตามใบงานและแบ่งหน้าที่การทากิจกรรมดังนี้ คะแนนของแต่ละกลุ่มที่เรียกว่าคะแนนกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ซึ่งในการทดสอบนักเรียนทุกคนจะทำข้อสอบตามความสามารถของตนโดยไม่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ขั้นที่ 3 การทดสอบย่อย หลังจากเรียนไปแล้ว นักเรียนต้องได้รับการทดสอบ โดยครูทำการทดสอบวัดความเข้าใจประมาณ 15 – 20 นาที และคะแนนที่ได้จากการทดสอบจะถูกแปลงเป็นคะแนนของแต่ละกลุ่มที่เรียกว่า คะแนนกลุ่มสัมฤทธิ์ ซึ่งในการทดสอบนักเรียนทุกคนจะทำข้อสอบตามความสามารถของตนโดยไม่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ขั้นที่ 4 การคิดคะแนนในการพัฒนาตนเองและของกลุ่ม ซึ่งเป็นคะแนนที่ได้จากการ เปรียบเทียบคะแนนที่สอบได้กับคะแนนฐาน (Base Score) โดยคะแนนที่ได้จะเป็นคะแนน ความก้าวหน้าของผู้เรียน ซึ่งนักเรียนจะทำได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับความขยันที่เพิ่มขึ้นจากครั้งก่อนหรือ ไม่นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้คะแนนสูงสุดเพื่อช่วยกลุ่ม หรืออาจไม่ได้เลยถ้าหากได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนฐานเกิน 10 คะแนน ในการทดสอบแต่ละครั้งนักเรียนแต่ละคนจะได้คะแนนพัฒนา จากนั้นก็จะนำคะแนนของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกันแล้วคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ถ้ากลุ่มใดได้คะแนนเฉลี่ยสูงถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ครูจะให้รางวัล การที่กลุ่มประสบความสำเร็จได้นั้นต้องขึ้นอยู่กับคะแนนของสมาชิกทุกคน สลาวิน (Slavin) ได้ให้แนวปฏิบัติการคิดคะแนนพัฒนาไว้ดังนี้ ให้นำคะแนนแบบทดสอบของแต่ละคนไปเทียบกับคะแนนฐาน (Base Score) แล้วคิดเทียบเป็นคะแนนพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จากนั้นนาคะแนนพัฒนาของสมาชิกในกลุ่มมารวมกันแล้วนามาคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ถ้ากลุ่มใดได้คะแนนสูงหรือถึงเกณฑ์ที่กำหนดก็จะได้รางวัล ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งความสำเร็จ การคิดคะแนนฐานทำได้โดยการนำระดับผลการเรียนในวิชาเดียวกันของภาคเรียนที่ผ่านมา หรือคะแนนจากหน่วยทดสอบที่ผ่านมา แล้วนามาเฉลี่ยเป็นคะแนนฐานโดยในการสอบแต่ละครั้งจะต้องมีคะแนนเต็มเท่ากันคือ 100 คะแนน เช่น ถ้าสมศักดิ์ทาการทดสอบ 4 ครั้งได้คะแนนดังนี้ 80, 86, 78 และ 92 คะแนนตามลำดับ สมศักดิ์จะมีคะแนนฐาน 84 คะแนน แล้วนำคะแนนฐานไปเปรียบเทียบคิดหาคะแนนพัฒนา (improvement Points)
ในการทดสอบแต่ละครั้งนักเรียนทุกคนจะต้องรู้คะแนนฐานของตนเองก่อนแล้วคำนวณว่าตนเองจะต้องทำคะแนนอีกเท่าไรถึงจะได้คะแนนพัฒนาตามที่คาดหวังไว้ ซึ่งคะแนนพัฒนาของแต่ละคนขึ้นอยู่กับความพยายามที่จะทำคะแนนการทดสอบให้มากกว่าคะแนนฐานเพื่อผลประโยชน์ของตนเองและของกลุ่ม ถ้ากลุ่มใดได้คะแนนสูงหรือถึงเกณฑ์ที่กำหนดก็จะได้รับรางวัล ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งความสาเร็จ
ขั้นที่ 5 การยกย่องกลุ่มที่ประสบผลสำเร็จ กลุ่มจะได้รับรางวัลเมื่อคะแนนถึงเกณฑ์ที่ครูตั้งไว้ ได้แก่ กลุ่มเก่ง กลุ่มเก่งมาก และกลุ่มยอดเยี่ยม
จากการศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน เทคนิคกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) จะเห็นได้ว่าเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนเรียนเป็นกลุ่ม เปิดโอกาสให้นักเรียนประสบความ สำเร็จในการเรียน มีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มทำให้นักเรียนช่วยเหลือกันในขณะเรียน ซักถามปัญหากันอย่างอิสระคนเก่งสามารถอธิบายให้เพื่อนในกลุ่มได้เข้าใจแนวคิดและมโนคติได้กระจ่างชัดขึ้น นักเรียนสามารถอภิปรายถึงข้อดีข้อเสียของ
การหาคำตอบในปัญหาคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งปัญหาคณิตศาสตร์เป็นปัญหาที่ท้าทายและมีปัญหาที่แปลกใหม่ซึ่งไม่เคยพบเห็นมาก่อน ความพยายามของนักเรียนแต่ละคนใน
การหาคำตอบจากปัญหาเดียวกัน จะทำให้เกิดความ ก้าวหน้าทีละน้อยและเป็นประสบการณ์ ที่มีค่าดั้งนั้นจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันนั้นมีความหมายมากกว่าแค่การเอานักเรียนมารวมกันทางานเป็นกลุ่มย่อยเท่านั้น แต่เป็นการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อกลุ่มและส่วนรวมโดยการช่วยเหลือซึ่งกันและกันเห็นคุณค่าของความแตกต่างระหว่างบุคคล ยอมรับความสามารถของตนเองและของผู้อื่น การถือเขาถือเราจะลดลงไป นอกจากนี้ยังช่วยให้นักเรียนมีคุณลักษณะนิสัยที่ดี เช่น ความสามัคคี มีน้าใจ มีระเบียบวินัย เป็นต้น
ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับ STAD
ท่านสามารถเปิดดูงานวิจัยและก๊อปได้ โดยใช้โปรแกรม Adobe Acrobat Reader การโหลดและการติดตั้งโปรแกรม Adobe Acrobat Reader
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STADกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full153/somsawat133428/titlepage.pdf
ผลการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนโดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD และเทคนิค TGT เรื่อง เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ช่างไม้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีเพศต่างกัน
ผลการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง การวาดภาพเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การจัดการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การจัดการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องสำนวน สุภาษิตและคำพังเพย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การ์ตูนประกอบกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือ แบบ STAD
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
การพัฒนาการใช้คำสมาส และคำสนธิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มแบบ STAD
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ม.3
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ด้วยการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่านด้วยนิทานพื้นบ้าน
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบSTAD เรื่อง การอ่านและการเขียนสะกดคำในมาตราแม่ ก กากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สาระภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด ช่วงชั้นที่ 2โดยการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
การพัฒนาความสามารถการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ประกอบการใช้แบบฝึกทักษะ
การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านและการเขียนในแม่ ก กาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STADโดยใช้แบบฝึกทักษะ ด้านการอ่านและการเขียนคำยากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
การพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยการเรียนแบบร่วมมือ (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่านประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคำชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้เทคนิค STAD
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง การอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์
ผลการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ โดยใช้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD โดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง สระลดรูปและสระเปลี่ยนรูปชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
ผลการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (STAD) ประกอบแบบฝึกทักษะเรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบSTAD เรื่อง การเขียนคำที่มีตัวการันต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค STAD ประกอบการใช้นิทานเรื่อง วิชาเหมือนสินค้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง อักษรควบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผลการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
การจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำนาม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โดยใช้บทเรียนการ์ตูนประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเงิน และสถาบันการเงินในระบบเศรษฐกิจ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบเทคนิค STAD กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีเหตุผลและความมั่นใจในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ชุมชนของเรา ระหว่างการใช้บทเรียนการ์ตูนประกอบการจัดกิจกรรมแบบ 4 MATการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD และการจัดกิจกรรมแบบปกติ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ร่างกายของเรา ม.2
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ ม.3
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่อง การคำนวณเกี่ยวกับปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ระหว่างการสอนโดยใช้เทคนิค TGT และเทคนิค STAD
การเปรียบเทียบผลการเรียนวิทยาศาสตร์โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือตามเทคนิค STAD เทคนิคการเรียนรู้ร่วมกัน (LT)และการเรียนแบบปกติ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD กับเทคนิค TAI
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือแบบ STADเรื่อง สารและสมบัติของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เรื่อง พลังงานแสงกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง ไฟฟ้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง อาหารกับการดำรงชีวิตกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STADวิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD คณิตศาสตร์ ม.3
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ป.2
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง เวลา
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง เศษส่วน ป.4
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง บทประยุกต์
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง เซต
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน ม.6
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง สถิติและความน่าจะเป็น ป.5
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง การคูณการหารเศษส่วน ป.5
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง การคูณการหารเศษส่วน ป.5
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง เรขาคณิตสามมิติ
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรตัว
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง ทฤษฏีพีทาโกรัส ม.2
การเปรียบเทียบความรู้สึกเชิงจำนวน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกและการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ
การเปรียบเทียบความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วนทศนิยม และการคิดวิเคราะห์ ระหว่างวิธีเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค STADสอดแทรกเมตาคอกนิชั่น วิธีเรียนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์วิธีเรียนตามคู่มือครู สสวท. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยวิธีเรียนแบบร่วมมือแบบ STAD กับการสอนแบบปกติ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง บทประยุกต์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้แบบ STADและการเรียนรู้ตามปกติ
การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องการบวกการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100,000 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
ผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง บทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD และแบบปกติ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เวกเตอร์ ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ (STAD)การสอนแบบ 4 MAT และการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ STAD
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการสอนแบบอุปนัยและแบบนิรนัย ประกอบการใช้เทคนิค STAD
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนและเจตคติที่มีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องสถิติของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD)กับที่เรียนจากการสอนแบบปกติ
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง ไฟฟ้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (STAD) ประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับ STAD
ตอบลบผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STADกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full153/somsawat133428/titlepage.pdf
ผลการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนโดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD และเทคนิค TGT เรื่อง เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ช่างไม้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีเพศต่างกัน
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full127/sirimas12582/titlepage.pdf
ผลการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง การวาดภาพเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full159/wiboon134096/titlepage.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
http://library.tru.ac.th/ttpdf/ttf66158.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full52/nongnit4497/titlepage.pdf
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องสำนวน สุภาษิตและคำพังเพย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การ์ตูนประกอบกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือ แบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full159/niramon134119/titlepage.pdf
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full159/rattikokrn134123/titlepage.pdf
การพัฒนาการใช้คำสมาส และคำสนธิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full105/hatsachai10056/titlepage.pdf
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ม.3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full150/sawinee133158/titlepage.pdf
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ด้วยการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่านด้วยนิทานพื้นบ้าน
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full160/wanit134213/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบSTAD เรื่อง การอ่านและการเขียนสะกดคำในมาตราแม่ ก กากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full158/sa-ngeam133963/titlepage.pdf
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สาระภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด ช่วงชั้นที่ 2โดยการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full160/tassadaporn134171/titlepage.pdf
การพัฒนาความสามารถการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ประกอบการใช้แบบฝึกทักษะ
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full148/sudjai132871/titlepage.pdf
.
การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตอบลบhttp://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full136/porntipa131564/titlepage.pdf
การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านและการเขียนในแม่ ก กาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full159/sophit134128/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STADโดยใช้แบบฝึกทักษะ ด้านการอ่านและการเขียนคำยากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full153/krittika133453/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยการเรียนแบบร่วมมือ (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full124/rinrada12224/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่านประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full151/juthamas133235/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full142/jiranan132250/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคำชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้เทคนิค STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full157/rakkana133825/titlepage.pdf
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full136/paisan131589/titlepage.pdf
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full139/parichat131974/titlepage.pdf
การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full144/thanalai132494/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง การอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full131/suwannaree131088/titlepage.pdf
ผลการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ โดยใช้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full133/ratchanee131247/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD โดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full141/supornrat132308/titlepage.pdf
.
ผลการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง สระลดรูปและสระเปลี่ยนรูปชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
ตอบลบhttp://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full151/wasana133229/titlepage.pdf
ผลการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (STAD) ประกอบแบบฝึกทักษะเรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full139/rungsri131940/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบSTAD เรื่อง การเขียนคำที่มีตัวการันต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full158/ratree133962/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค STAD ประกอบการใช้นิทานเรื่อง วิชาเหมือนสินค้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full139/sunanta131952/titlepage.pdf
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (STAD) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง อักษรควบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full151/sakda133243/titlepage.pdf
ผลการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full139/panaprai132029/titlepage.pdf
การจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำนาม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โดยใช้บทเรียนการ์ตูนประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full151/siriwan133247/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเงิน และสถาบันการเงินในระบบเศรษฐกิจ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full118/ammara11616/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบเทคนิค STAD กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full119/supannee11695/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full102/nataya9796/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full90/sukanya7878/titlepage.pdf
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีเหตุผลและความมั่นใจในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ชุมชนของเรา ระหว่างการใช้บทเรียนการ์ตูนประกอบการจัดกิจกรรมแบบ 4 MATการจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบ STAD และการจัดกิจกรรมแบบปกติ
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full153/komsun133457/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ร่างกายของเรา ม.2
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full92/praphatsorn7864/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ ม.3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full35/suriyes3325/titlepage.pdf
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full90/ratchanee-dong7937/titlepage.pdf
.
ผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง บทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD และแบบปกติ
ตอบลบhttp://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full119/anong11709/titlepage.pdf
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เวกเตอร์ ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ (STAD)การสอนแบบ 4 MAT และการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full125/chatchawan12315/titlepage.pdf
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full158/sujit133966/titlepage.pdf
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STADกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ตัวประกอบของจำนวนนับ
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full121/anan11959/titlepage.pdf
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full160/chariya134146/titlepage.pdf
ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full144/kannikar132473/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการสอนแบบอุปนัยและแบบนิรนัย ประกอบการใช้เทคนิค STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full134/supattra131398/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง สมการและการแก้สมการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full149/tassanee133072/titlepage.pdf
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนและเจตคติที่มีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องสถิติของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD)กับที่เรียนจากการสอนแบบปกติ
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full138/phayao131842/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full118/urairat11557/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง การคูณ การหารเศษส่วนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full122/rungrapin12020/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง การคูณ การหารเศษส่วนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full122/rungrapin12020/titlepage.pdf
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง ไฟฟ้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full137/titima131721/titlepage.pdf
ผลการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (STAD) ประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
http://www.library.msu.ac.th/web/dublin.linkout.php?url=http://khoon.msu.ac.th/full139/rungsri131940/titlepage.pdf
.
STAD (Student Team Achievement Divisions)
ตอบลบวิธีการเรียนแบบนี้พัฒนาเพิ่มเติมจากวิธี TGT แต่จะใช้การทดสอบรายบุคคลแทนการแข่งขัน ขั้นตอนกิจกรรม ประกอบด้วย
1.ผู้สอนนำเสนอบทเรียนให้แก่ผู้เรียน อาจนำเสนอด้วยสื่อหรือใช้การอภิปรายทั้งห้องเรียนโดยผู้สอนเป็นผู้ดำเนินการ
2.จัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5 คน ให้สมาชิกมีความสามารถคละกัน
3.แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาทบทวนเนื้อหาที่ผู้สอนนำเสนอจนเข้าใจ
4.ผู้เรียนทุกคนในกลุ่มทำแบบทดสอบ (Quiz) เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
5.ตรวจคำตอบของผู้เรียน นำคะแนนของสมาชิกทุกคนในกลุ่มมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม หรือนำคะแนนสอบของผู้เรียนแต่ละคนจะนำมาเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยที่ทำได้จากการสอบในครั้งก่อน ๆ แต้มคะแนนที่ได้ขึ้นอยู่ที่ผู้เรียนทำได้ดีกว่าเดิมเพียงใด แต้มคะแนนนี้จะนำมารวมกันเป็นของกลุ่ม ทีมใดที่ทำได้ถึงเกณฑ์จะได้รับใบประกาศหรือรางวัล
6.กลุ่มที่ได้คะแนนรวมสูงสุด หรือทำได้ถึงเกณฑ์(กรณีที่แต่ละกลุ่มมีจำนวนสมาชิกไม่เท่ากันให้ใช้คะแนนเฉลี่ยแทนคะแนนรวม) จะได้รับรางวัลหรือติดประกาศชมเชย
วิธีนี้มีการนำไปใช้ในเกือบทุกวิชา เช่น คณิตศาสตร์ภาษา สังคม เป็นต้น ตั้งแต่ระดับชั้น ป.2 ถึงอุดมศึกษา วิธีนี้เหมาะกับวิชาที่มีการกำหนดจุดประสงค์ชัดเจนและมีคำตอบถูกคำตอบเดียว เช่น ในวิชาที่มีการคำนวณ การใช้ภาษา ภูมิศาสตร์แผนที่มโนมติและข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์
แนวคิดหลักเบื้องหลังของวิธี STAD ก็คือการจูงใจผู้เรียนให้รู้จักให้กำลังใจและช่วยเหลือเพื่อนในการเรียนรู้เนื้อหาที่ผู้สอนถ่ายทอด ถ้าผู้เรียนต้องการให้ทีมของตนได้รับรางวัล ก็ต้องช่วยสมาชิกในทีมเรียนรู้เนื้อหานั้น การทำงานด้วยกันของผู้เรียนเมื่อผู้สอนสอนบทเรียนนั้นจบ อาจทำงานกันเป็นคู่และเปรียบเทียบคำตอบกัน ไถ่ถามในสิ่งที่สงสัย และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในส่วนที่ยังไม่เข้าใจผู้เรียนอาจไถ่ถามกันถึงวิธีทำโจทย์ปัญหา หรืออาจลองทดสอบซึ่งกันและกันในเนื้อหาที่ศึกษานั้น
ผู้เรียนในทีมสอนเพื่อนร่วมทีมและประเมินว่าทีมตนมีจุดแข็งจุดอ่อนที่ใดเพื่อช่วยให้ทีมทำข้อสอบได้
.
การเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD
ตอบลบกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ขั้นนำ
ครูแจ้งคะแนนฐานและคะแนนความก้าวหน้าของนักเรียนแต่ละคน และคะแนนกลุ่มตามลำดับ บอกจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ทราบ
ครูกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจการเรียน
2. ขั้นสอน
2.1 ครูนำเสนอเนื้อหาที่จะเรียนในคาบนั้นพร้อมยกตัวอย่างโดยสอนที่เหมาะสม
2.2 เน้นให้ผู้เรียนหาคำตอบเองจากสื่อรูปธรรม เน้นกิจกรรมที่หลากหลายในการหาคำตอบ และสามารถอธิบายด้วยตนเอง
3. ขั้นสรุป
ให้ผู้เรียนสรุปบทเรียนด้วยตนเองและครูคอยชี้แนะแก้ไขให้ชัดเจนและเป็นระบบ
ขั้นกิจกรรมกลุ่มย่อย
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาชุดการเรียนและทำกิจกรรมจากบัตรกิจกรรม พร้อมเฉลยคำตอบ
2. นักเรียนที่เข้าใจแล้วต้องอธิบายให้นักเรียนที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหา และกลุ่มต้องทำงานร่วมกันขั้นทดสอบย่อย
3. นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบด้วยตนเอง
4. นำคะแนนที่ได้มาใช้เป็นฐานในการทดสอบครั้งต่อไปนำคะแนนที่ได้มาคิดเป็นคะแนนกลุ่ม
4.1 กลุ่มดีเยี่ยม 25 คะแนนขึ้นไป
4.2 กลุ่มดีเด่น 20 - 24 คะแนน
4.3 กลุ่มดี 15 - 19 คะแนน
.